ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทนนิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yodyoy (คุย | ส่วนร่วม)
Yodyoy (คุย | ส่วนร่วม)
แก้การเสิร์ฟซึ่งระบุผิดด้านในเกมทั่วไป
บรรทัด 26:
=== เส้นสนาม ===
*'''เส้นหลัง''' หรือ เส้นท้ายสนาม (baseline) เป็นเส้นแนวนอน อยู่ด้านหลังสุดของสนามของแต่ละฝ่าย และจะมี'''ขีดกลาง''' (center mark) อยู่ตรงกึ่งกลางของเส้นหลัง
*'''เส้นเสิร์ฟ''' (service line) เป็นเส้นแนวนอนขีดแบ่งพื้นที่ในสนามของแต่ละฝ่ายออกเป็นด้านหน้าและด้านหลัง เส้นอยู่ห่างจากตาข่าย 6.40 เมตร (21 ฟุต)
*'''เส้นเสิร์ฟกลาง''' (center service line) ทอดตั้งฉากในแนวตั้งกับเส้นเสิร์ฟ ทำให้เกิด'''กรอบพื้นที่เสิร์ฟ''' (service box) ฝ่ายละ 2 ด้าน คือ กรอบด้านซ้ายของแต่ละฝ่ายเรียกว่า '''Advantage court''' กับกรอบด้านขวาของแต่ละฝ่ายเรียกว่า '''Deuce court''' ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวจะอยู่ชิดตาข่าย โดยผู้เล่นที่เสิร์ฟจะต้องเสิร์ฟลูกให้ลงในกรอบพื้นที่ดังกล่าวเท่านั้น ทั้งนี้จะต้องเสิร์ฟลูกให้ลงด้านซ้ายหรือขวาจะขึ้นอยู่กับคะแนนที่เล่นในขณะนั้น
*'''เส้นข้าง''' (sideline) เป็นเส้นแนวตั้งด้านซ้ายและขวาของขอบสนาม ทอดไปตามความยาวของสนาม ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดขอบเขตความกว้างของพื้นที่สนาม ในการเล่นประเภทเดี่ยวจะใช้เส้นข้างด้านใน (single sideline) ส่วนการเล่นประเภทคู่จะใช้เส้นข้างด้านนอก (double sideline)
*'''เส้นเสิร์ฟ''' (service line) เป็นเส้นแนวนอนขีดแบ่งพื้นที่ในสนามของแต่ละฝ่ายออกเป็นด้านหน้าและด้านหลัง เส้นอยู่ห่างจากตาข่าย 6.40 เมตร (21 ฟุต)
*'''เส้นเสิร์ฟกลาง''' (center service line) เป็นเส้นกลางสนามทอดตั้งฉากในแนวตั้งกับเส้นเสิร์ฟ ทำให้เกิด'''กรอบพื้นที่เสิร์ฟ''' (service box) ฝ่ายละ 2 ด้าน คือ กรอบด้านซ้ายของแต่ละฝ่ายเรียกว่า '''Advantage court''' กับกรอบด้านขวาของแต่ละฝ่ายเรียกว่า '''Deuce court''' ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวจะอยู่ชิดตาข่าย โดยผู้เล่นที่เสิร์ฟจะต้องเสิร์ฟลูกให้ลงในกรอบพื้นที่ดังกล่าวเท่านั้น ทั้งนี้จะต้องเสิร์ฟลูกให้ลงด้านซ้ายหรือขวาจะขึ้นอยู่กับคะแนนที่เล่นในขณะนั้น
*เมื่อบอลตกสัมผัสเส้นถือว่าบอลสัมผัสพื้นที่ว่างภายในเส้นนั้น
 
บรรทัด 50:
*การเสิร์ฟโดยตีไม่โดนบอล จะถือว่าการเสิร์ฟครั้งนั้นเสีย แต่การโยนบอลแล้วปล่อยบอลตกลงพื้นโดยที่ไม่พยายามตีบอลสามารถทำได้และสามารถเริ่มเสิร์ฟใหม่ได้
*การเสิร์ฟโดยตีบอลแล้วบอลไปโดนหรือสัมผัสวัตถุอื่นก่อนตกลงพื้นสนามถือว่าเสิร์ฟเสีย เช่น โดนเสาตาข่าย โดนผู้เล่นฝ่ายเดียวกับเรา เป็นต้น
*การเสิร์ฟ จะต้องเสิร์ฟโดยสลับฝั่งซ้าย/ขวา/ซ้ายของเส้นเสิร์ฟกลางไปทุกคะแนน กล่าวคือ ในเกมทั่วไปเริ่มเสิร์ฟคะแนนแรกที่ด้านหลังสนามด้านซ้ายขวาของเส้นเสิร์ฟกลาง(ด้าน AdvantageDeuce court) และในคะแนนถัดไปต้องสลับไปเสิร์ฟที่หลังสนามด้านขวาซ้ายของเส้นเสิร์ฟกลาง(ด้าน DeuceAdvantage court)
* การเสิร์ฟเมื่อเล่นเกมไทเบรก(โปรดดูที่ไทเบรก) ฝ่ายแรกจะเสิร์ฟแค่คะแนนที่ 1 ก่อน จากหลังสนามด้านขวาของเส้นเสิร์ฟกลาง(ด้าน Deuce court) และต่อจากนี้จะผลัดการเสิร์ฟฝ่ายละ 2 คะแนนไปเรื่อยๆสลับกัน โดยตั้งแต่คะแนนที่ 2 จะให้อีกฝ่ายเริ่มเสิร์ฟจากหลังสนามด้านซ้ายของเส้นเสิร์ฟกลาง(ด้าน Advantage court) และต้องสลับด้านเสิร์ฟซ้าย/ขวาไปทุก 1 คะแนนเช่นกัน หากเล่นประเภทคู่ก็ต้องสลับกันเสิร์ฟคนละ 2 คะแนนเช่นกัน
* การเสิร์ฟจะต้องเสิร์ฟให้บอลลงในกรอบพื้นที่เสิร์ฟ (service box) ของฝ่ายตรงข้ามในแนวทแยง เช่น กรณีเราเสิร์ฟจากด้านซ้าย ลูกเสิร์ฟจะต้องไปตกในกรอบพื้นที่เสิร์ฟด้านซ้ายของฝ่ายตรงข้ามด้วยเช่นกัน(ด้านขวามือเรา) เป็นต้น
* เสิร์ฟ'''เล็ต''' (let) จะต้องทำการเสิร์ฟลูกนั้นใหม่ ได้แก่ การเสิร์ฟโดยที่ลูกสัมผัสตาข่ายแล้วตกลงในกรอบพื้นที่เสิร์ฟที่ถูกต้องในแนวทแยง หรือลูกสัมผัสตาข่ายแล้วไปโดนผู้เล่นฝั่งตรงข้ามโดยที่ลูกยังไม่ตกพื้น หรือการเสิร์ฟเมื่อผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามยังไม่พร้อม ยกเว้นการเสิร์ฟที่ลูกสัมผัสตาข่ายแล้วตกนอกกรอบพื้นที่เสิร์ฟที่ถูกต้องจะถือว่าลูกนั้นเสียทันที (fault)
* การเสิร์ฟ มีสิทธิ์เสิร์ฟได้คะแนนละ 2 ครั้ง หากเสิร์ฟครั้งแรกเสีย จะต้องเสิร์ฟครั้งที่ 2 หากลูกสัมผัสตาข่ายแล้วตกนอกกรอบพื้นที่เสิร์ฟที่ถูกต้อง จะถือว่าลูกนั้นเสียทันที (fault) และหากเป็นการเสียของลูกเสิร์ฟครั้งที่ 2 ของคะแนนนั้น(double fault) จะต้องเสียคะแนนนั้นให้คู่แข่งด้วย
 
=== การตีลูกกลับ ===
บรรทัด 66:
== การตัดสินผู้ชนะ ==
[[ไฟล์:การนับคะแนนกีฬาเทนนิส.png|thumb|300px|แผนผังการนับคะแนนกีฬาเทนนิส]]
การตัดสินผู้ชนะของการแข่งขัน(match) ตัดสินจากจำนวนเซ็ต(set) ที่ได้กำหนดไว้ในการแข่งขันนั้น<br />
โดยในแต่ละ'''เซ็ต'''จะประกอบด้วยหลายๆเกม(game) และในแต่ละ'''เกม'''จะประกอบไปด้วยการนับ'''คะแนน'''(point) จากการเล่น ดังนี้
=== การนับเกมของเซ็ต ===
*ผู้เล่นฝ่ายใดก็ตามที่ได้จำนวนเซ็ตครบตามที่กำหนดในการแข่งขันนั้นๆ ก่อน จะเป็นฝ่ายชนะในการแข่งขัน เช่น กำหนดชนะ 2 ใน 3 เซ็ต หรือชนะ 3 ใน 5 เซ็ต เป็นต้น
* ผู้เล่นแต่ละฝ่ายจะสลับกันเสิร์ฟฝ่ายละ 1 เกมในแต่ละเซ็ต
*ในแต่ละเซ็ต ฝ่ายใดทำได้ '''6''' เกมก่อนและอีกฝ่ายทำได้ไม่เกิน 4 เกม จะเป็นฝ่ายชนะในเซ็ตนั้น เช่น ชนะ 6-4 เกม หรือ 6-3 เกม เป็นต้น
*กรณีเซ็ตนั้น เสมอกันที่ '''5-5 เกม''' จะต้องเล่นต่อจนฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำได้ '''7 เกม'''ก่อนก็จะเป็นฝ่ายชนะเซ็ตนั้น เช่น ชนะ 7-5 เกม
*กรณีเซ็ตนั้น เสมอกันที่ '''6-6 เกม''' จะต้องเล่น'''ไทเบรก'''ต่อในเกมที่ 7 เพื่อตัดสินผู้ชนะเซ็ต ซึ่งจะชนะ 7-6 เกม หรือแพ้ 6-7 เกม (ยกเว้นในเซ็ตสุดท้ายของรายการแกรนด์สแลมจะไม่มีการเล่นไทเบรก จะเล่นจนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งนำคู่แข่งได้ 2 เกม)
*จำนวนเกมในแต่ละเซ็ตอาจแปรเปลี่ยนได้ตามกติกาของบางรายการแข่งขันที่กำหนดขึ้นเฉพาะกิจ
 
เส้น 80 ⟶ 79:
*หากคะแนนเสมอกันที่ '''40-40''' จะต้องเล่นต่อไปอีก 2 คะแนน เรียกว่า '''ดิวซ์''' (deuce) และเมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำคะแนนนำ 1 คะแนนได้ก่อน เรียกว่า '''ได้เปรียบ''' (Advantage มักใช้อักษรย่อ A หรือ Adv) เช่น 40-A หรือ A-40 และหากฝ่ายนั้นทำได้อีก 1 คะแนน ก็จะชนะในเกมนี้ไป แต่หากทำไม่ได้ก็ถือว่ากลับมาเสมอกันที่ 40-40 อีกครั้ง และก็ต้องเล่นดิวซ์ต่อไป (แต่มีกติกาพิเศษในบางรายการแข่งขันที่กำหนดว่าจะไม่มีการเล่นต่อ 2 คะแนน ฝ่ายไหนได้คะแนนหลังจากคะแนนที่ 40 ก่อนถือว่าชนะเกมนั้น)
* หากเกมใดที่ฝ่ายเสิร์ฟของเกมนั้นเป็นฝ่ายชนะ จะเรียกว่า '''รักษาเกมเสิร์ฟได้''' แต่หากฝ่ายเสิร์ฟแพ้เกมนั้น จะเรียกว่า '''ถูกเบรกเกมเสิร์ฟ'''
*'''ไทเบรก (tie break)''' ใช้เพื่อตัดสินผู้ชนะของเซ็ตนั้นในกรณีที่ทั้งสองฝ่ายเสมอกันที่ '''6-6 เกม''' การเล่น'''เกมที่ 7''' เป็นเกมสุดท้ายของเซ็ต เรียกว่าเล่น '''ไทเบรก''' โดยในเกมนี้จะนับคะแนนเป็น '''1, 2, 3,...''' ไปเรื่อยๆ ฝ่ายใดที่ทำได้ 7 คะแนนก่อนจะเป็นผู้ชนะในเซ็ตนั้น เช่น ชนะ 7-4 คะแนนของเกมที่ 7 ก็จะเป็นฝ่ายชนะในเซ็ตนั้น เป็นต้น แต่หากคะแนนของเกมนี้เสมอกันที่ '''6-6 คะแนน'''อีก ผู้เล่นฝ่ายใดก็ตามที่ทำคะแนนนำคู่แข่งได้ 2 คะแนนก่อนจะเป็นผู้ชนะในเซ็ตนั้น เช่น ชนะ 8-6 คะแนน หรือแพ้ 8-10 คะแนน เป็นต้น เมื่อไทเบรกจบลง ผลจะเป็นชนะ 7-6 เกม หรือแพ้ 6-7 เกมในเซ็ตนั้นๆ (ยกเว้นในเซ็ตสุดท้ายของรายการแกรนด์สแลมจะไม่มีการเล่นไทเบรก)
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เทนนิส"