ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระสุพรรณกัลยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sone309 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนพวกป่วนเพ้อเจ้อ
บรรทัด 13:
| พระอัครมเหสี =
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี = ไม่มี[[พระเจ้าบุเรงนอง]]
| พระราชโอรส/ธิดา = [[เจ้าหญิงเมงอทเว]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สุโขทัย]]
| ทรงราชย์ =
เส้น 25 ⟶ 26:
 
ชีวิตในกรุงหงสาวดี
พระสุพรรณกัลยา พระราชธิดาใน [[สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช]] และ [[พระวิสุทธิกษัตรีย์]] พระนางปรากฏในพงศาวดารพม่าระบุว่า ในปี [[พ.ศ. 2112]] เจ้าฟ้าสองแคว (พระอิสริยยศของพระมหาธรรมราชาเมื่อครั้งได้รับการสถาปนาจากพระเจ้าบุเรงนองให้ขึ้นครองพิษณุโลก) ได้ถวายพระธิดาชื่อ สุวรรณกัลยา พระชันษา 17 ปี กับบริวารและนางสนมรวม 15 คนแก่พระเจ้าบุเรงนอง<ref>'''อยุธยาศึกษา:ตลาดวิชาสำหรับครู-อาจารย์''', หน้า 183</ref> โดยพระองค์ได้สถาปนาเป็นพระมเหสี มีพระตำหนักและฉัตรส่วนพระองค์ ได้รับพระราชทานเบี้ยหวัด เครื่องใช้สิ่งของ ข้าราชบริวารที่เป็นชาวไทยทั้งหมด เมื่อจะเสด็จไปยังที่ใด จะโดยเสลี่ยงหรือพระที่นั่งหรือพระพาหนะใดก็ตาม จะมีเจ้าพนักงานกางฉัตรถวาย และพระองค์ทรงอยู่อย่างเกษมสำราญ<ref>'''ตำนานนางกษัตริย์'''. หน้า 271</ref><ref>{{Citation |author=Taylor |title=History, Simulacrum and the real |year=2001 |page=6}}</ref>
พระสุพรรณกัลไม่ได้มีพระธิดาและยังไม่ทันตกเป็นของพระบุเรงนอง พระองค์ปริบชีพตัวเองลงสะก่อน <ref>'''ตำนานนางกษัตริย์'''. หน้า 273</ref> โดยทรงจัดให้สร้างตำหนักทรงไทยขึ้นใน[[พระราชวังกัมโพชธานี|พระราชวังกรุงหงสาวดี]]
 
พระนางมีพระธิดา 1 พระองค์กับพระเจ้าบุเรงนอง ทรงได้รับพระราชทานพระนามว่า '''เจ้าภุ้นชิ่''' ซึ่งมีความหมายว่า ผู้มีสติปัญญาและพระบารมี แต่โดยมากจะรู้จักกันในพระนาม '''เมงอทเว''' ในพระราชพงศาวดารพม่าได้บันทึกว่าพระสุพรรณกัลยาเป็นพระมเหสีที่พระเจ้าบุเรงนองทรงโปรดปรานมาก<ref>'''ตำนานนางกษัตริย์'''. หน้า 273</ref> โดยทรงจัดให้สร้างตำหนักทรงไทยขึ้นใน[[พระราชวังกัมโพชธานี|พระราชวังกรุงหงสาวดี]]
ด้วยเหตุที่[[พระเจ้าบุเรงนอง]]เสด็จออกราชการสงครามอยู่เสมอ ทำให้พระสุพรรณกัลยารวมทั้งพระมเหสีองค์อื่นทรงดำเนินชีวิตในพระราชวังตามปกติ โดยมิได้เส็ดจออกงานหรือเห็นโลกภายนอกจนกว่าที่พระเจ้าบุเรงนองจะเสด็จกลับหงสาวดีจึงจะมีการจัดงานสำคัญ โดยในวันเพ็ญเดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2116]] มีงานบูชา[[เจดีย์ชเวดากอง|พระมหาเจดีย์ชเวดากอง]]
 
ด้วยเหตุที่[[พระเจ้าบุเรงนอง]]เสด็จออกราชการสงครามอยู่เสมอ ทำให้พระสุพรรณกัลยารวมทั้งพระมเหสีองค์อื่นทรงดำเนินชีวิตในพระราชวังตามปกติ โดยมิได้เส็ดจออกงานหรือเห็นโลกภายนอกจนกว่าที่พระเจ้าบุเรงนองจะเสด็จกลับหงสาวดีจึงจะมีการจัดงานสำคัญ โดยในวันเพ็ญเดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2116]] มีงานบูชา[[เจดีย์ชเวดากอง|พระมหาเจดีย์ชเวดากอง]] พระสุพรรณกัลยาพร้อมด้วยพระราชธิดาองค์น้อยได้ประทับเรือพระที่นั่งโดยเสด็จพระเจ้าบุเรงนองไปบำเพ็ญพระราชกุศลนาน 5 วัน นับเป็นครั้งแรกที่พระองค์ได้เสด็จออกนอกพระราชฐานมานานว่า 3 ปี
หลังจากงานบูชามหาเจดีย์จบสิ้นลง พระเจ้าบุเรงนองได้นิมนต์พระสงฆ์[[พม่า]] [[มอญ]] [[เชียงใหม่]] และ[[ไทใหญ่]] 3,500 รูป เจริญพระพุทธมนต์ และทำพิธีพุทธาภิเษกพระพุทธรูปหล่อด้วย[[ทองคำ]] [[เงิน]] [[สำริด]] และ[[ปัญจโลหะ]] อย่างละองค์ {{Citation |author=Maung Aung Myoe |title=Neither Friend Nor Foe: Myanmar's Relations with Thailand Since 1988 |publisher=Institute of Defence and Strategic Studies, Nanyang Technological University |year=2002 |page=146}}</ref>
 
หลังจากงานบูชามหาเจดีย์จบสิ้นลง พระเจ้าบุเรงนองได้นิมนต์พระสงฆ์[[พม่า]] [[มอญ]] [[เชียงใหม่]] และ[[ไทใหญ่]] 3,500 รูป เจริญพระพุทธมนต์ และทำพิธีพุทธาภิเษกพระพุทธรูปหล่อด้วย[[ทองคำ]] [[เงิน]] [[สำริด]] และ[[ปัญจโลหะ]] อย่างละองค์ ในการนี้พระเจ้าบุเรงนองได้ทำการเฉลิมพระยศพระราชโอรส และพระราชธิดา โดยในการนี้ [[เจ้าหญิงเมงอทเว|เจ้าหญิงเจ้าภุ้นชิ่]] พระราชธิดาในพระสุพรรณกัลยาได้รับพระราชทานตำแหน่งเป็น '''พิษณุโลกเมียวซา''' เนื่องจากทรงได้รับสิทธิ์ในภาษีประจำปีที่ได้จาก[[พิษณุโลก]] นับแต่นั้นมาทุกคนจึงขานพระนามพระราชธิดาพระองค์นี้ว่า '''เจ้าหญิงพิษณุโลก'''<ref>'''ตำนานนางกษัตริย์'''. หน้า 275</ref><ref>{{Citation |author=Maung Aung Myoe |title=Neither Friend Nor Foe: Myanmar's Relations with Thailand Since 1988 |publisher=Institute of Defence and Strategic Studies, Nanyang Technological University |year=2002 |page=146}}</ref>
 
== กรณีการสิ้นพระชนม์ ==
ภายหลังจากที่พระเจ้าบุเรงนองสวรรคตเมื่อ[[พ.ศ. 2124]] [[พระเจ้านันทบุเรง]]ขึ้นครองราชย์แทน ภายหลังจากที่[[มังกะยอชวา|พระมหาอุปราชามังกะยอชวา]]สิ้นพระชนม์ใน [[พ.ศ. 2135]] จากการทำ[[ยุทธหัตถี]]กับ[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]] ซึ่งการสิ้นพระชนม์นั้นในพงศาวดารรวมถึงคำให้การต่างๆ ทั้งของไทยและพม่าต่างก็ให้ข้อมูลต่างกันออกไปเกี่ยวกับการกล่าวถึงการสิ้นพระชนม์ของพระสุพรรณกัลยา
...หลังจากที่พระเจ้านันทบุเรงขึ้นครองราชย์ ก็อยากได้ให้พระสุพรรณกัลยาเป็นมเหสีของตน สันนิษฐานว่าพระเจ้านันทบุเรงรู้สึกแค้นใจที่รบแพ้พระนเรศวร แต่ยังไม่ทันได้ทำอันได้ จึงแก้แค้นด้วยการฆ่าพระสุพรรรสุพรรณกัลยาไม่ได้ตกเป็นของพม่าพระองค์สละชีพตัวเองลงเสียก่อน (ความจริงที่ถูกเข้าใจผิด)ซึ่งกำลังตั้งท้องอยู่
 
=== หลักฐานพงศาวดารของไทย ===
เส้น 48 ⟶ 50:
แม้การสิ้นพระชนม์ของพระสุพรรณกัลยานั้นจะเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าเกิดจากแรงโทสะของ[[พระเจ้านันทบุเรง]] ซึ่งตรงกันทั้งในหลักฐานของไทยและพม่า (บางฉบับ) แต่มิกกี้ ฮาร์ท (Myin Hsan Heart) นักประวัติศาสตร์ชาวพม่าได้นำเสนอข้อมูลที่แตกต่างออกไป โดยกล่าวถึง[[เจ้าหญิงเมงอทเว|เจ้าภุ้นชิ่]]หรือเจ้าหญิงพิษณุโลกได้ตามเสด็จพระราชมารดาออกมาประทับนอก[[พระราชวังกัมโพชธานี]] โดยเจ้าหญิงเจ้าภุ้นชิ่ได้เสกสมรสกับ เจ้าเกาลัด พระโอรสของเจ้าอสังขยา เจ้าเมืองตะลุป ซึ่งเป็น[[ไทใหญ่|ชาวไทใหญ่]] ซึ่งเป็นที่ปรึกษาของพระเจ้ามังรายกะยอชวา โอรสองค์ที่สองของพระเจ้านันทบุเรง และมีพระธิดาด้วยกันคือ เจ้าหญิงจันทร์วดี ซึ่งหมายความว่า ในช่วงสงครามยุทธหัตถี [[พ.ศ. 2135]] พระสุพรรณกัลยามิได้ประทับอยู่ในหงสาวดีแต่ทรงประทับอยู่ในอังวะ จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2137]] พระเจ้าตองอู พระเจ้านยองยัน และพระเจ้าเชียงใหม่ ต่างแยกตัวเป็นอิสระจากหงสาวดี พระเจ้านยองยันได้เข้าครองกรุงอังวะที่เจ้าหญิงพิษณุโลก และพระมารดาอาศัยอยู่ อีกทั้งยังเป็นผลดีแก่ทั้งสองพระองค์ด้วย เนื่องจากพระเจ้านยองยันนั้นเป็นพระโอรสองค์หนึ่งของพระเจ้าบุเรงนอง ทั้งยังมีความคุ้นเคยกับเจ้าอสังขยาบิดาของเจ้าเกาลัด จึงคาดได้ว่า ภายใต้การปกครองของพระเจ้านยองยันพระสุพรรณกัลยารวมถึงเจ้าหญิงพิษณุโลกก็ยังทรงประทับในนครอังวะอย่างปกติสุขจนกระทั่งสิ้นพระชนม์ โดยมิได้ถูกปลงพระชนม์แต่อย่างใด<ref>'''ตำนานนางกษัตริย์'''. หน้า 293-295</ref>
[[ไฟล์:39-9-1087831999.jpg|thumb|180px|right|พระสุพรรณกัลยา จากละครเรื่อง กษัตริยา ([[พ.ศ. 2547|พ.ศ. ๒๕๔๗]]) รับบทโดย [[วรัทยา นิลคูหา]]]]
 
== พระนามต่างๆ ==
# '''สุวรรณกัลยา''' จากคำให้การขุนหลวงหาวัด ฉบับหลวง