ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเน่าเปื่อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘นัยตา’ ด้วย ‘นัยน์ตา’
บรรทัด 16:
==== ระยะแรก ====
 
การเน่าสลายของร่างกายในระยะแรก จะมีน้ำเหลืองจำนวนมากไหลออกมาขังอยู่ตามช่องต่าง ๆ ในร่างกายเช่นในบริเวณช่องอก ช่องท้อง และในขณะเดียวกันร่างกายก็จะเกิดบวมพองมากขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากเกิดจากแรงดันของก๊าซที่เกิดขึ้นในร่างกาย ก๊าซที่มีการเพิ่มจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ จะทำให้[[ลิ้น]]ใน[[กระพุ้งแก้ม]]ถูกดันออกมาจุกที่[[ปาก]]ในลักษณะของลิ้นจุกปาก เพดานปากและลิ้นไก่เกิดการเน่า ลูกนัยตานัยน์ตาทั้งสองข้างจะถูกแรงดันให้ทะลักล้นออกมานอกเบ้าตา ในผู้ชาย[[ถุงอัณฑะ]]จะเกิดการโป่งบวมพอง [[อวัยวะเพศชาย]]มีลักษณะบวมเป่งและมีน้ำเหลืองไหลเยิ้ม ในผู้หญิงจะเกิดการบวมพองที่[[ทวารหนัก]]และ[[ช่องคลอด]] จะถูกแรงดันทำให้เกิดการแบะออกมาภายนอก ร่างกายทั่วไปถูกดันจนข้อต่าง ๆ มีการงอเข้ามาเล็กน้อย [[นิ้วมือ]]บวมเป่งจนดันกันให้กางออกทั้งสองข้าง ซึ่งระยะเวลานี้เรียกว่าเกิดการอืดของร่างกายอย่างเต็มที่ ในอุณหภูมิทั่วไปใน[[ประเทศไทย]]ประมาณ 3-4 วันหลังจากตาย<ref name="การเน่าสลายตัวของร่างกายในระยะแรก">การเน่าสลายตัวของร่างกายในระยะแรก, นิติเวชศาสตร์ สำหรับพนักงานสอบสวน, พลตำรวจตรี เลี้ยง หุยประเสริฐ พบ., อว. (นิติเวชศาสตร์) ผู้บังคับการ สถาบันนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ, 2549, หน้า 32</ref>
 
==== ระยะสุดท้าย ====