ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
[[ไฟล์:เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ2.jpg|thumb|200px|เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ์ เมื่อ พ.ศ. 2465]]
[[ไฟล์:ภาพล้อฝีพระหัตถ์-เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ์.jpg|thumb|200px|ภาพล้อเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 ทรงวาดจากภาพต้นฉบับด้านบน]]
'''มหาอำมาตย์เอก พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์''' หรือ '''(นามเดิม:หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์''' (นามเดิมหรือ หม่อมราชวงศ์กลาง) ([[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2409]] <ref>หนังสือ "ประวัตินายพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (ม.ร.ว. สท้าน สนิทวงศ์)" โดยข้าราชการในกรมรถไฟ และกองทางกรมโยธาเทศบาล พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ ระบุว่าเกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2409</ref> - [[20 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2483]]) อดีตเสนาบดี[[กระทรวงเกษตราธิการ]] (พ.ศ. 2452 – 2455) และ[[กระทรวงคมนาคม]] ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[องคมนตรี]]ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นพระอัยกาใน[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] เคยเป็นข้าหลวงใหญ่ปักปันเขตแดนระหว่างไทยกับแคว้นอินโดจีนบริเวณตอนเหนือ (ของสยามกับ[[หลวงพระบาง]]) ของในแคว้น[[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] ระหว่าง [[พ.ศ. 2447]] - [[พ.ศ. 2450]] <ref name="ลิ้นชักภาพเก่า"/>
 
== ประวัติ ==
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ {หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) เป็นบุตรของ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์]] กับหม่อมเขียน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (ศศิสมิต)<ref>http://web.schq.mi.th/~afed/today/jun/jun.html</ref> พระบิดาเรียกท่านว่า "กลาง"<ref>ข้าราชการในกรมรถไฟ และกองทางกรมโยธาเทศบาล, ''ประวัตินายพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (ม.ร.ว. สท้าน สนิทวงศ์) '', พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส 29 มีนาคม พ.ศ. 2484</ref>
 
หม่อมราชวงศ์สท้าน ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไปศึกษาวิชาทหารบกที่[[ประเทศเดนมาร์ก]] เมื่อ [[พ.ศ. 2425]] เป็นเวลา 11 ปี เดินทางกลับประเทศไทยเมื่อ อายุ 27 ปี และเข้ารับราชการจนได้เป็นผู้บังคับการโรงเรียนนายร้อยทหารบก เมื่อ พ.ศ. 2442 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น[[หม่อมราชินิกุล]]มีนามว่า "''หม่อมชาติเดชอุดม"'' ถือศักดินา 800<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2442/035/502_3.PDF พระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนยศ], เล่ม ๑๖, ตอน ๓๕, ๒๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๑๘, หน้า ๕๐๒</ref> และเป็นผู้ได้จัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการทหาร<ref name="ลิ้นชักภาพเก่า">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=[[เอนก นาวิกมูล]]|ชื่อหนังสือ=ลิ้นชักภาพเก่า ประมวลภาพ จากคอลัมน์เปิดกรุภาพเก่าในนิตยสารแพรวรายปักษ์ และคอลัมน์ลิ้นชักภาพเก่าในวิทยาจารย์|URL= |จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์วิญญูชน|ปี= พ.ศ. 2550|ISBN=978-974-94365-2-3|หน้า=หน้าที่|จำนวนหน้า=392}}</ref> ปี พ.ศ. 2453 โปรดเกล้าให้ดำรงตำแหน่งเสนาบดี[[กระทรวงเกษตราธิการ]]<ref name="ลิ้นชักภาพเก่า"/>
 
ปี พ.ศ. 2454 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยา มีสมญาจารึกในสุพรรณบัฏว่า ''เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ รัตนพลเทพ สรรพพลเสพเสนาบดี โรปนวิธีบำรุง ผดุงธัญพืชผลาหาร พานิชการพัฒนกร สโมสรสกลยุทธศาสตร์ มหาอมาตย์ศักดิอดุลย์ พิรุณเทพมุรธาธร สรรพกิจจานุสรสวัสดิ์ วิบุลยปริวัตรเกษตราธิบดี สุนมนตรีพงษ์สนิท เมตจิตรอาชวาธยาไศรย รัตนไตรยสรณธาดา อภัยพิริยบรากรมพาหุ'' ดำรงศักดินา 10,000<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/1718.PDF ประกาศ เลื่อน แลตั้งกรม แลตั้งเจ้าพระยา], เล่ม ๒๘, ตอน ๐ ง, ๑๑ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๓๐, หน้า ๕๐๒</ref> ต่อมาดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ ([[กระทรวงคมนาคม]]ในปัจจุบัน)
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ ดำรงตำแหน่งเสนาบดี[[กระทรวงเกษตราธิการ]] เมื่อ พ.ศ. 2453 <ref name="ลิ้นชักภาพเก่า"/> ในปลายสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น[[กระทรวงคมนาคม]] ต่อมาในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ภายหลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรพาณิชยการ โดยรวมกระทรวงเกษตราธิการ กับกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม เป็นกระทรวงเดียวกัน เรียกว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ <ref>http://www.fisheries.go.th/DOF_THAI/Intro/History/history_dof.htm</ref>
 
ต่อมาภายหลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้รวมกระทรวงเกษตราธิการกับกระทรวงพาณิชย์และคมนาคมเป็นกระทรวงเดียวกัน เรียกว่ากระทรวงเกษตรพาณิชยการ แล้วให้เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์เป็นเสนาบดี<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2475/A/180.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ผลัดเปลี่ยนเสนาบดี ปลัดทูลฉลองกระทรวงต่าง ๆ และรวมกระทรวง], เล่ม ๔๙, ตอน ๐ ก, ๒๙ มิถุนายน ๒๔๗๕, หน้า ๑๘๑</ref>
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ และ[[ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)]] เป็นผู้เลี้ยงดูสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในระหว่าง พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2477 เมื่อหม่อมหลวงบัว ต้องติดตามหม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร ไปปฏิบัติราชการ ตำแหน่งเลขานุการเอก ณ สถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุง[[วอชิงตัน ดี.ซี.]] [[สหรัฐอเมริกา]] <ref>http://www.sf.ac.th/honour/honour.htm</ref>
 
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ ษานุประพัทธ์และ[[ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)]] เป็นผู้เลี้ยงดู[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ในระหว่าง พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2477 เมื่อ[[หม่อมหลวงบัว กิติยากร]] ต้องติดตาม[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ|หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร]] ไปปฏิบัติราชการ ตำแหน่งเลขานุการเอก ณ สถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุง[[วอชิงตัน ดี.ซี.]] [[สหรัฐอเมริกา]] <ref>http://www.sf.ac.th/honour/honour.htm</ref>
 
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง[[โรงเรียนสายปัญญา]] โดยเมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ สิ้นพระชนม์ ท่านเป็นต้นคิดในหมู่ทายาท ให้นำวังของพระบิดา มาก่อตั้งเป็นสถานศึกษาสำหรับสตรี โดยได้รับพระราชทานนามโรงเรียนจาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2459
เส้น 60 ⟶ 62:
; [[ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)]]
ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) นามเดิม บาง ณ บางช้าง<ref>สมภพ ภิรมย์, ศาสตราจารย์ น.อ. "สาแหรกครอบครัว (Family Tree) ลำดับพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์เฉพาะสายที่สืบราชสมบัติ". ''พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:อมรินทร์การพิมพ์. 2528</ref> มีบุตรธิดา 3 คน ดังนี้
# '''[[หม่อมหลวงบัว กิติยากร|หม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์]]''' เสกสมรสกับ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ|หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร]]) มีบุตรธิดา 4 คนดังนี้
## [[หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร]]
## [[หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร]]
เส้น 69 ⟶ 71:
## คุณหญิงบุษยา ไกรฤกษ์
## พันตรี ภาดร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
# ท่านผู้หญิง[[หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค]] (หม่อมหลวงมณีรัตน์ สนิทวงศ์) เสกสมรสกับนายสุรเทิน บุนนาค มีบุตรธิดา ดังนี้
## พลตรีกรีเมศร์ บุนนาค
## พันโทสุรธัช บุนนาค
เส้น 90 ⟶ 92:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
 
{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์}}