ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซินแก๊ส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Limnano (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ปรับแก้
 
บรรทัด 1:
'''ซินแก๊ส''' Syngas, or synthesis gas, เป็นแก๊สเชื้อเพลิงผสม ส่วนผสมหลักประกอบด้วย [[ไฮโดรเจน]], [[คาร์บอนมอนอกไซด์]]และ[[คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ไดออกไซด์]] ได้ชื่อนี้เพราะถูกใช้เป็นตัวกลางในการผลิต synthetic natural gas (SNG) และ [[ammoniaแอมโมเนีย]] หรือ [[methanolเมทานอล]] นอกจากนี้ ซินแก๊ส ยังใช้ผลิตปิโตรเลียมสังเคราะห์เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงและตัวหล่อลื่นในการผลิตแก๊สโวลีนอีกด้วย ซินแก๊สเผาใหม้ได้ดีนแก๊สเผาไหม้ได้ดี และถูกนำไปใช้กับ[[เครื่องยนต์สันดาปภายใน]]บ่อยๆ แต่มีความหนาแน่นของพลังงานน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของ[[แก๊สธรรมชาติ]]เท่านั้น<ref>[http://www.fao.org/docrep/t0269e/t0269e0c.htm], Energy Density</ref>
'''ซินแก๊ส'''
Syngas, or synthesis gas, เป็นแก๊สเชื้อเพลิงผสม ส่วนผสมหลักประกอบด้วย ไฮโดรเจน, คาร์บอนมอนอกไซด์และคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ได้ชื่อนี้เพราะถูกใช้เป็นตัวกลางในการผลิต synthetic natural gas (SNG) และ [[ammonia]] หรือ [[methanol]] นอกจากนี้ ซินแก๊ส ยังใช้ผลิตปิโตรเลียมสังเคราะห์เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงและตัวหล่อลื่นในการผลิตแก๊สโวลีนอีกด้วย ซินแก๊สเผาใหม้ได้ดี และถูกนำไปใช้กับเครื่องยนต์สันดาปภายในบ่อยๆแต่มีความหนาแน่นของพลังงานน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของแก๊สธรรมชาติเท่านั้น<ref>[http://www.fao.org/docrep/t0269e/t0269e0c.htm], Energy Density</ref>
 
วิธีการผลิตซินแก๊ส คือการใช้ขบวน[[การแปรสภาพเป็นแก๊ส]] (gasification) ของถ่านหิน หรือ มวลชีวภาพ หรือขบวนการเปลี่ยนสถานะจากพลังงานเหลือใช้โดยใช้เทคนิคของ gasification หรือใช้ขบวนการ เปลี่ยนรูปไอน้ำของแก๊สธรรมชาติหรือสารไฮโดรคาร์บอนเหลวให้เป็นแก๊สไฮโดรเจน
 
==ขบวนการผลิตทางเคมี==
ขบวนการผลิตหลักของซินแก๊สคือการใช้[[การเปลี่ยนรูปไอน้ำ]] (steam reforming) ได้แก่การดูดกลืนความร้อนจาก[[มีเทน]]ด้วยพลังงาน 206 kJ/mol
 
ปฏิกิริยาแรก เป็นการดูดกลืนความร้อนระหว่างไอน้ำกับถ่านโคกร้อนๆ ทำให้เกิด[[คาร์บอนมอนอกไซด์]]และ[[ไฮโดรเจน]] (หรือชื่อเดิม[[แก๊สน้ำ]]) เมื่อถ่านโคกเย็นลงจนขบวนการดูดกลืนความร้อนจบลง ก็จะมีอากาศเย็นเข้ามาแทนที่ไอน้ำ
 
เริ่มปฏิกิริยาที่สองและที่สาม เป็นขบวนการคายความร้อน โดยป้อนคาร์บอนไดออกไชด์ จน[[ถ่านโคกโค้ก]]ร้อน แล้วจึงเริ่มขบวนการดูดกลืนความร้อนอีกครั้ง คราวนี้จะได้คาร์บอนมอนอกไซด์ ได้[[แก๊สผู้ผลิต]] (Producer gas:ชื่อเดิม) จากนั้นก็จะเริ่มขบวนการดูดและคายความร้อนซ้ำอีกจนกระทั่งถ่านโคกโค้กหมดสภาพ แก๊สผู้ผลิตจึงมีค่าพลังงานน้อยกว่าแก๊สน้ำ ดังนั้น จึงใช้อ๊อกซิเจน[[ออกซิเจน]]แทนอากาศเพื่อลดปัญหาค่าพลังงานแก๊สผู้ผลิตลดลงในขบวนการท้ายๆท้าย ๆ
 
ในขบวนการผลิตแอมโมเนียในสเกลที่ใหญ่ขึ้น มีความต้องการไฮโดรเจนสังเคราะห์จากแก๊สธรรมชาติดังนี้