ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวฮอไรซันส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''''นิวฮอไรซันส์''''' ({{lang-en|New Horizons}}; ท. ''ขอบฟ้าแห่งใหม่'') เป็นยานสำรวจอวกาศระหว่างดาวเคราะห์ซึ่งปล่อยเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2549 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการนิวฟรอนเทียส์ (New Frontiers) ของ[[นาซา]]ที่ ยานสร้างโดย ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์และสถาบันวิจัยเซาท์เวสต์ โดยทีมซึ่งมีเอส. แอแลน สเทิร์น (S. Alan Stern) เป็นหัวหน้า ยานดังกล่าวมีภารกิจสำรวจเพื่อศึกษา[[ดาวพลูโต]] ดวงจันทร์ดาวบริวารของมัน และ[[ชารอนแถบไคเปอร์]] โดยบินผ่านระบบพลูโตและวัตถุอื่น ๆ ใน[[แถบไคเปอร์]] ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการเดินทาง(Kuiper Belt Object) ตั้งแต่หนึ่งวัตถุขึ้นไปยังดาวพลูโต
 
วันที่ 15 มกราคม 2558 ยานอวกาศ''นิวฮอไรซันส์''เริ่มระยะเข้าใกล้ (approach phase) ดาวพลูโต เมื่อ 11:49 [[UTC]] ของวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 ยานอวกาศ''นิวฮอไรซันส์'' บินห่างจากพื้นผิวดาวพลูโต 12,500 กิโลเมตร เป็นยานอวกาศลำแรกที่สำรวจดาวพลูโต
ยานนิวฮอไรซันส์ ออกแบบโดยห้องปฏิบัติการ Applied Physics Laboratory (APL) [[มหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์]] ปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ [[19 มกราคม]] [[พ.ศ. 2549]] ด้วยจรวดแอทลาส 551 และจะเดินทางถึงดาวพลูโตประมาณเดือนกรกฎาคม [[พ.ศ. 2558]]
 
ยานนิวฮอไรซันส์ เป็นยานลำแรกในโครงการ '''นิวฟรอนเทียร์ส (New Frontiers)''' ซึ่งเป็นโครงการสำรวจอวกาศขนาดกลางของนาซา (งบประมาณไม่เกิน 700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
ยาน นิวฮอไรซันส์ จะเป็นกุญแจที่ไขความลับของดาวพลูโตว่าจะเป็นดาวเคราะห์หรือไม่ (New Horizons: On to Pluto, Planet or Not)
 
ภายหลังจากยานนิวฮอไรซันส์ได้ทำการสำรวจดาวพลูโตเสร็จสิ้นแล้ว ก็จะเดินทางต่อไปยัง[[แถบไคเปอร์]] ซึ่งจะเป็นการเดินทางออกนอก[[ระบบสุริยะ]]ที่ห่างไกล[[ดวงอาทิตย์]] [[นาซ่า]]ได้ออกแบบยานไว้สำหรับเหตุการณ์นี้ไว้แล้ว เมื่อยานนิวฮอไรซันส์ต้องเดินทางห่างไกลดาวฤกษ์อย่างดวงอาทิตย์ จนไม่สามารถสังเคราะห์พลังงานแสงอาทิตย์ได้เพียงพอ ยานจะสามารถใช้[[พลังงานนิวเคลียร์]]มาผลิตกระแสไฟฟ้าสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนตัวยานได้ ซึ่งก่อนทำการปล่อยยานนิวฮอไรซันส์ ก็ได้เกิดเหตุวุ่นวายเล็กน้อยเมื่อมีผู้ประท้วงต่อต้านนิวเคลียร์เข้ามาประท้วง ณ ฐานปล่อยจรวด แต่เหตุการณ์ก็ผ่านไปได้ด้วยดี
 
ความเร็วของยานโดยเฉลี่ยเท่ากับ 16.26 กิโลเมตร/วินาที หรือ (58,536 กิโลเมตร/ชั่วโมง หรือ 36,373 ไมล์/ชั่วโมง) ส่งผลให้ยานนิวฮอไรซันส์เป็นยานที่มีสถิติด้านความเร็วเป็นอันดับหนึ่ง
ในปี พ.ศ. 2553 ยานนิวฮอไรซันส์ได้เดินทางถึงครึ่งทางของดาวพลูโต
 
และจากกการคำนวณ
พ.ศ. 2554 ยานนิวฮอไรซันส์จะเดินทางเข้าสู่วงโคจรของ[[ดาวยูเรนัส]]
พ.ศ. 2557 ยานนิวฮอไรซันส์จะเดินทางเข้าสู่วงโคจรของ[[ดาวเนปจูน]]
พ.ศ. 2557 ยานนิวฮอไรซันส์จะเดินทางเข้าสู่วงโคจรของ[[ดาวพลูโต]]
 
เราสามารถตรวจสอบตำแหน่งและระยะทางการเดินทางของยานนิวฮอไรซันส์ได้ที่นี่ [http://pluto.jhuapl.edu/mission/whereis_nh.php ตรวจสอบตำแหน่งยาน]
 
การเดินทางของยานในครั้งนี้ นาซ่าได้บรรจุเถ้ากระดูกของ[[ไคลด์ ทอมบอ]] ผู้ค้นพบดาวพลูโต ไว้กับยานนิวฮอไรซันส์ด้วย
== การเดินทางของยานนิวฮอไรซันส์ ==
{| class="wikitable"