ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอตากุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ไม่เป็นกลาง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Otakustereo.jpg|thumb|175px|ลักษณะของโอตาคุโอะตะกุในความเข้าใจ : ผมเผ้ารุงรัง ใส่แว่น และใช้เวลาส่วนใหญ่ฝันลมๆ แล้งๆ ถึงสิ่งที่ตัวเองชอบ แล้วเป็นพวกเก็บตัวอยู่บ้าน ไม่ออกไปไหน ออกไปได้เฉพาะมีงานอะนิเมะต่างๆ]]
 
คำว่า Otaku'''โอะตะกุ''' (ออกเสียงว่า{{ญี่ปุ่น|おたく|otaku}} หรืออาจสะกดเป็น โอตาคุ, โอ-ทา-กุ เป็นต้น) เป็นคำนาม ดัดแปลงมาจากคำว่า O-taku ซึ่งเกิดจากการนำเอาคำปัจจัย "O-" มาเติมหน้าตัวคันจิ "taku" ซึ่งแปลว่า "บ้าน" และใช้เมื่อกล่าวถึงบ้านของคู่สนทนา ในความหมายว่า "บ้านของคุณ" นอกจากนี้ยังสามารถใช้เรียกแทนตัวคู่สนทนาได้ ในความหมายของ "คุณ" อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะในความหมายของ "บ้าน" หรือ "คุณ" Otaku ก็ถือว่าเป็นคำที่ให้ความรู้สึกสุภาพและเป็นทางการอย่างมาก...{{อ้างอิง}}
ผมเผ้ารุงรัง ใส่แว่น และใช้เวลาส่วนใหญ่ฝันลมๆ แล้งๆ ถึงสิ่งที่ตัวเองชอบ แล้วเป็นพวกเก็บตัวอยู่บ้าน ไม่ออกไปไหน ออกไปได้เฉพาะมีงานอะนิเมะต่างๆ]]
 
คำว่า Otaku (ออกเสียงว่า โอ-ทา-กุ) เป็นคำนาม ดัดแปลงมาจากคำว่า O-taku ซึ่งเกิดจากการนำเอาคำปัจจัย "O-" มาเติมหน้าตัวคันจิ "taku" ซึ่งแปลว่า "บ้าน" และใช้เมื่อกล่าวถึงบ้านของคู่สนทนา ในความหมายว่า "บ้านของคุณ" นอกจากนี้ยังสามารถใช้เรียกแทนตัวคู่สนทนาได้ ในความหมายของ "คุณ" อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะในความหมายของ "บ้าน" หรือ "คุณ" Otaku ก็ถือว่าเป็นคำที่ให้ความรู้สึกสุภาพและเป็นทางการอย่างมาก...
 
การนำเอาคำว่า Otaku มาใช้เรียกกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งนั้น ไม่มีแหล่งยืนยันแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่ตอนไหน แต่ควรจะเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายแล้วในช่วงต้นทศวรรษที่ 80 เนื่องจากวีดิโอที่ชื่อ "Otaku no Video"ของบริษัท GAINAX ที่ออกมาในปี 1992 ซึ่งนำเสนอเรื่องราวของพวก Otaku นั้น ยืนพื้นจากเหตุการณ์ในช่วงปี 1982-85 เฟรเดอริค ชอดต์ (Frederik L. Schodt) ได้กล่าวไว้ในหนังสือDreamland Japan : Writing on modern manga ว่า ช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 แฟนการ์ตูนและอนิเมชั่น (Animation) ได้เริ่มใช้คำว่า Otaku เรียกกันและกัน สาเหตุที่ใช้ไม่เป็นที่ชัดเจนแต่คำศัพท์นี้ก็ถูกใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้นเรื่อย ๆ พร้อมกับที่กระแสความนิยมในการ์ตูนและอนิเมชั่นได้ก่อให้เกิดการเพิ่มจำนวนของพวก มาเนีย (Mania) หรือ แฟนพันธุ์แท้ (Hardcore Fans) มากขึ้น
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โอตากุ"