ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำเนียงโคราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 8:
เชื่อกันว่าบรรพบุรุษของชาวไทโคราชอพยพมาจาก[[อยุธยา]] และแถบจังหวัดชายทะเลตะวันออก ได้แก่ [[จันทบุรี]] [[ระยอง]] [[นครนายก]] เป็นต้น เข้ามาในบริเวณจังหวัด[[นครราชสีมา]]และพื้นที่ใกล้เคียง และได้ผสมกลมกลืนกับกลุ่มคนพื้นเมืองเดิม ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะเป็น ไท-เสียม หรือไทสยามลุ่มน้ำมูล เกิดเป็นวัฒนธรรมไทโคราช เรียกตนเองว่า ไทโคราช ไทเบิ้ง หรือ ไทเดิ้ง
 
ต่อมาได้มีการติดต่อค้าขายกับ[[ชาวลาว]] ชาวไทยอีสานและชาวเขมร และมีการอพยพย้ายถิ่นฐานของชาวลาว ชาวไทยอีสานและชาวเขมรเข้ามาทีหลัง ทำให้เกิดการวิวัฒนาการของภาษา โดนโดยมีการยืมคำไทยอีสาน และคำเขมรปะปนเข้ามาใช้ เกิดเป็นคำไทโคราช ซึ่งแตกต่างจากภาษาไทยถิ่นอิสานโดยทั่วไป เพราะยังคงรักษารากศัพท์เดิมไว้คือภาษาไทยถิ่นกลางนั่นเอง
 
== การกระจายตัว ==