ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนชลประทานวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขเจตนาดีของ 171.96.172.57 (พูดคุย): {{ไม่เป็นสารานุกรม}}.ด้วย[[WP:...
บรรทัด 22:
 
==ประวัติ==
โรงเรียนชลประทานวิทยาเปิดสอนวันแรกเมื่อวันที่ [[2 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2498]] โดยดำริของ[[หม่อมหลวงชูชาติ กำภู]] อดีตอธิบดี[[กรมชลประทาน]] และ[[รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการ]][[กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ]] เนื่องจากในขณะนั้น กรมชลประทานกำลังดำเนินการก่อสร้าง[[เขื่อนเจ้าพระยา]] อยู่ที่จังหวัด[[ชัยนาท]] และมีโครงการที่จะก่อสร้าง[[เขื่อนภูมิพล]]ที่จังหวัด[[ตาก]] ในการนี้จะต้องมีการย้ายหน่วยงานบางหน่วยงานของกรมชลประทานจาก[[สามเสน]]มาอยู่ที่อำเภอปากเกร็ด ทำให้ข้าราชการต้องย้ายสถานที่ทำงาน ท่านหม่อมหลวงชูชาติ กำภู มีความห่วงใยในเรื่องสถานศึกษาของบุตรหลานข้าราชการกรมชลประทาน จึงให้ท่านอาจารย์[[ประหยัด ไพทีกุล]] หัวหน้าแผนกอาณาบาลกรมชลประทานในขณะนั้น ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นเมื่อวันที่ [[20 พฤษภาคม]] พ.ศ. 2498 การจัดตั้งโรงเรียนนั้นเต็มไปด้วยปัญหา เพราะเวลานั้นโรงเรียนต่าง ๆ ได้เปิดภาคเรียนของ[[ปีการศึกษา]] 2498 ไปแล้วถึง 4 วัน (เปิดเรียนวันที่ [[16 พฤษภาคม]]) และการจัดตั้งโรงเรียนต้องขออนุญาตภายในเดือน[[กุมภาพันธ์]] โดยให้อาจารย์ประหยัด ไพทีกุลเป็นผู้จัดการโรงเรียน และอาจารย์โกศล ภาสวณิช เป็นอาจารย์ใหญ่ ส่วนในปี พ.ศ.2558 นายจรูญ พจน์สุนทร เป็นผู้จัดการ และ นางอภิสรา ธีระมิตร เป็นผ้ัูอำนวยการ
 
 
{{โครง-ส่วน}}
เส้น 54 ⟶ 53:
 
==ชีวิตในโรงเรียน==
 
เป็นโรงเรียนที่ร่มรื่น น่าอยู่ ทุกที่มีต้นไม้ คุญครูใจดี ใส่ใจเด็ก ให้คำแนะนำตลอดทุกครั้งเวลาทำผิด การลงโทษก็ไม่แรงเกินไป มีการออกำลังกายอย่างสมำ่เสมอ สอนเด็กให้มีความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ มีการอบรมสั่งสอนอย่างดี ผู้จัดการและผู้อำนวยการมาเยี่ยมดูอย่างสมำ่เสมอ มีการอบรมหรือมีการให้ความรู้ใหม่ ๆ เวลา เช้า กลางวัน และเย็น ทุกวัน มีเพื่อนเยอะมากมาย
{{โครง-ส่วน}}