ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกกระเรียนมงกุฎเทา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
'''นกกระเรียนมงกุฎเทา''' หรือ '''นกกระเรียนหงอนพู่'''<ref name="นก"/> ({{lang-en|Grey crowned crane}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Balearica regulorum}}) เป็น[[นก]]ในวงศ์[[นกกระเรียน]] พบในทุ่งหญ้าสะวันนาใน[[ทวีปแอฟริกา]]ทางใต้ของ[[ทะเลทรายซาฮารา]] ทำรังในพื้นที่เปียกชื้น ไม่ใช่นกอพยพ
 
นกกระเรียนมงกุฎเทามี 2 ชนิดย่อยคือ ชนิดย่อยแอฟริกาตะวันออก ('''''B. r. gibbericeps''''', นกกระเรียนจุก) พบจากทางตะวันออกของ[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก]]ถึง[[ประเทศยูกันดา]] และ[[ประเทศเคนยา]]ถึงทางตะวันออกของ[[ประเทศแอฟริกาใต้]] มันมีพื้นที่หนังเปลือยสีแดงบนหน้าเหนือแต้มสีขาวขนาดใหญ่ใหญ่กว่าอีกชนิดย่อย '''''B. r. regulorum''''' ('''นกกระเรียนมงกุฎแอฟริกาใต้''') พบจาก[[ประเทศแองโกลา]]ลงใต้ถึงประเทศแอฟริกาใต้
 
นกกระเรียนชนิดนี้และญาติของมัน [[นกกระเรียนมงกุฎดำ]]เป็นนกกระเรียนที่สามารถเกาะคอนบนต้นไม้ได้ เพราะมีนิ้วเท้าหลังยาวพอที่จะจับกิ่งไม้ได้ ด้วยเหตุผลนี้จึงเชื่อว่านกกระเรียนสกุล ''[[Balearica]]'' เป็นสมาชิกที่คล้ายบรรพบุรุษของนกกระเรียนเป็นอย่างมาก
 
[[ไฟล์:Gray Crowned Crane at Zoo Copenhagen.jpg|upright|thumb|left|ที่สวนสัตว์[[โคเปนเฮเกน]]]]
บรรทัด 34:
 
นกกระเรียนมงกุฎเทาเป็นนกประจำชาติของประเทศยูกันดา ปรากฏอยู่ใน[[ธงชาติยูกันดา|ธงชาติ]]และตราแผ่นดิน
 
สำหรับในประเทศไทย นกกระเรียนมงกุฎเทามีจัดแสดงที่[[สวนสัตว์เชียงใหม่]] โดยในกลางปี ค.ศ. 2015 ได้มีลูกนกเกิดใหม่จำนวน 2 ตัว นับเป็นความสำเร็จในการขยายพันธุ์เป็นครั้งแรกในรอบ 18 ปี<ref name="นก">{{cite web|url=http://www.dailynews.co.th/article/332498|title=รับสมาชิกใหม่'นกกระเรียนหงอนพู่' |date=3 July 2015|accessdate=4 July 2015|publisher=เดลินิวส์}}</ref>
 
==อ้างอิง==