ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Scdar mu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Scdar mu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
*[['''ตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:crosslinker)
'''ตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:crosslinker)หรือแมคโครโมเลกุลาร์เคมี(macromolecular chemistry)เป็นศาสตร์หลายสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับ[[การสังเคราะห์ทางเคมี]](chemical synthesis)และคุณสมบัติทางเคมีของ[[พอลิเมอร์]](polymer)หรือ[[แมคโครโมเลกุล]](macromolecule) แมคโครโมเลกุลแบบเก่าจะหมายถึงโซ่โมเลกุล และเป็นกลุ่มของเคมี ส่วนพอลิเมอร์จะอธิบายถึงคุณสมบัติรวมๆของวัสดุพอลิเมอร์ซึ่งจะเป็นขอบเขตของ[[ฟิสิกส์พอลิเมอร์]]
(polymer physics)ซึ่งเป็นสาขาย่อยของวิชาฟิสิกส์ [[พลาสติก]](Plastics)เช่น[[พอลิเอทิลีน]](polyethylene)จะเป็นกลุ่มย่อยของพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่มูลค่าในเชิงพาณิชย์ [[ไบโอพอลิเมอร์]](Biopolymer)เช่น[[โปรตีน]](protein)เป็นกลุ่มย่อยของพอลิเมอร์ที่พบในธรรมชาติ
พอลิเมอร์ที่เกิดจาก[[โมโนเมอร์]](monomer)โดยกระบวนการ[[พอลิเมอไรเซชั่น]](polymerization)คุณสมบัติของพอลิเมอร์เหล่านี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยดังนี้
#[[ระดับขั้นของพอลิเมอไรเซชั่น]](degree of polymerisation)
#[[โมลาร์แมสส์ดิสตริบิชั่น]](molar mass distribution)
#[[แทคติซิตี่]](tacticity)
#[[โคพอลิเมอร์]](copolymer)
#[[การแตกสาขาของพอลิเมอร์]](polymer branching)
#[[กลุ่มท้ายแถว]](end-group)
#[[ครอสส์ลิงก์]](crosslinks)
#[[การเกิดผลึก]](crystallinity)
#[[อุณหภูมิกลาสส์ทรานซิชั่น]](glass transition temperature)
#[[การละลาย]](solubility)
#[[ความหนืด]](viscosity)
#[[การเกิดเจล]](gelation)
 
ตัวเชื่อมโยงข้าม (crosslinker) เป็นตัวเชื่อมสายโซ่พอลิเมอร์ ด้วยพันธะโคเวเลนต์ที่เชื่อมระหว่าง 2 สายพอลิเมอร์ ทำให้พอลิเมอร์มีสมบัติเป็นเทอร์มอเซต พอลิเมอร์(thermosetting polymer) ในทางชีววิทยา มีการประยุกต์การเชื่อมโยงข้ามของพอลิอะคริลาไมด์ (polyacrylamide) ในกระบวนการ gel electrophoresis และโปรตีน ตัวเชื่อมโยงข้ามขัดขวางการจับตัวกันอย่างหนาแน่นของสายโซ่พอลิเมอร์ และป้องกันการเกิดบริเวณที่จัดเรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบ
การเชื่อมโยงข้าม(cross-linking) เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเมอร์กับตัวเชื่อมโยงข้าม(crosslinker) เช่น ในกระบวนการวัลคะไนส์ (vulcanization) ตัวเชื่อมโยงคือซัลเฟอร์ (sulfur) ทำปฏิกิยากับพอลิไอโซพรีน (polyisoprene) ทำให้คุณสมบัติของยางแข็งขึ้น และมีความทนทาน ยางนี้ไปใช้ได้ดีกับรถยนต์และรถจักรยาน
 
 
== ประวัติพอลิเมอร์ ==
*ปี 1891 [[ฮิลัยลี่ เดอชาดอนเนต]](Hilaire de Chardonnet)เริ่มผลิตเส้นใย[[เซลลูโลส]](cellulose)
สำหรับ[[ผ้าไหม]](silk)ได้สำเร็จ
*ปี 1907 [[ลีโอ แบเคลแลนด์]](Leo Baekeland) ประดิษฐ์พอลิเมอร์สังเคราะห์ชื่อว่า [[เบคิไลต์]](bakelite)
*ปี 1922 [[เฮอร์มานน์ สตอดิงเจอร์]](Hermann Staudinger) เสนอเป็นครั้งแรกว่าพอลิเมอร์ประกอบด้วยโซ่ยาวของอะตอม
ที่ดึงดูดกันด้วยพันธะเคมีแบบโควาเลนต์(covalent bond) ซึ่งก่อนหน้านี้นักวิทยาศาสตร์เชื่อกันว่าพอลิเมอร์เป็นกลุ่มของโมเลกุลเล็กๆที่เรียกว่า
คอลลอยด์(colloids)และดึงดูดกันด้วยที่ยังไม่ทราบ
*ปี 1953 สตอดิงเจอร์ได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]](Nobel Prize in Chemistry)
*ปี 1931 [[วอลลาซ คารอตเทอรส์]](Wallace Carothers)ประดิษฐ์ยางสังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกเรียกว่านีโอพรีน(neoprene)
*ปี 1935 [[วอลลาซ คารอตเทอรส์]](Wallace Carothers)ประดิษฐ์[[ไนลอน]](nylon)
*ปี 1974 [[พอล ฟลอรี่]](Paul Flory)ได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]](Nobel Prize in Chemistry)
จากผลงานการพยการจักเรียงตัวของพอลิเมอร์ในสารละลายซึ่งเรียกว่า[[แรนดอมคอยล์]](random coil)
 
==ดูเพิ่ม==
*[[สถานะ]]
*[[ตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์]]
*[[เจลดูดน้ำ]]