ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอลับแล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ทศพล ทรวงชัย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
| image_map = Amphoe 5308.svg
}}
'''อำเภอลับแล''' หรือ '''เมืองลับแล''' เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งใน[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] เป็นเมือง[[ล้านนา]]ชุมชนโบราณมีมาตั้งแต่สมัยก่อน[[กรุงสุโขทัย]]{{fn|1}} [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้เคยเสด็จมาเมื่อ ปี [[พ.ศ. 2444]] ความเป็นมาของคำว่า “ลับแล” นั้น ตามข้อสันนิษฐานของ[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]<ref>[http://web.archive.org/20080812024746/www.geocities.com/lablae_city/history6.htm ฟู บุญถึง และคณะ . ( ม.ป.ป.) . ลับแลหรือจะแลลับ , สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอลับแล]</ref>ว่า เดิมชาวเมือง[[แพร่]] เมือง[[น่าน]] หนีข้าศึกและความเดือดร้อนมาซุ่มซ่อนตั้งชุมชนอยู่บริเวณนี้ เนื่องจากเป็นที่ป่ารก หลบซ่อนตัวง่ายและ ภูมิประเทศเป็นเมืองอยู่ใน[[หุบเขา]]มีที่เนินสลับกับที่ต่ำ คนต่างเมืองถ้าไม่คุ้นเคยกับภูมิประเทศจะหลงทางได้ง่าย อำเภอลับแลนอกจากจะมี[[โบราณสถานแบบล้านนาโบราณ]]ที่น่าสนใจมากมายแล้ว ยังเป็นแหล่งผลิตสินค้า[[หัตถกรรมพื้นเมืองล้านนา]] เช่น [[ผ้าตีนจก]]และ[[ไม้กวาด]] เป็นแหล่งปลูก[[ลางสาด]] ซึ่งเป็นผลไม้ที่มีชื่อเสียงของจังหวัด
 
== ประวัติเมืองลับแล ==
[[ไฟล์:ชาวลับแล.jpg|200px|left|thumb|การแต่งกายของชาวลับแลใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมัยรัชกาลที่ 5]] จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทำให้ทราบว่ากลุ่มชนแรกส่วนใหญ่ที่มาอยู่ในบริเวณเมืองลับแลในปัจจุบันนั้นอพยพมาจาก[[โยนกนาคพันธุ์|อาณาจักรเชียงแสนโบราณ (โยนกนาคพันธุ์)]]]]
 
[[ไฟล์:Wat-Cedi-Script.jpg .jpg|150px|thumb|ศิลาจารึกเจดีย์พิหาร ขุดได้ที่หน้าวิหารวัดเจดีย์คีรีวิหาร มหาอำมาตย์ตรี พระยานครพระราม ส่งเข้าหอสมุดวชิรญาณ กรุงเทพฯ เมื่อปี [[พ.ศ. 2473]] ศาสตราจารย์ ดร.[[ประเสริฐ ณ นคร]] ให้ความเห็นว่าเนื้อหาจารึกน่าจะกล่าวตั้งแต่ครั้งเมื่อ[[พระยาลิไทย]]ขึ้นเสวยราชย์ เป็นหลักฐานหนึ่งที่ยืนยันว่าอาณาบริเวณเมืองลับแลปัจจุบัน เป็นชุมชนที่มีความเก่าแก่มาตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัย]]
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ พอจะอนุมานได้ว่าที่เมืองทุ่งยั้ง แต่เดิมเคยเป็นเมืองใหญ่ที่เป็นชุมชนของพวก[[ละโว้|ละว้า]]และ[[ขอม]] มีความเจริญรุ่งเรืองมาช้านาน เพราะได้มีการขุดพบกลองมโหระทึกและพร้าสำริด ได้ในบริเวณดังกล่าว ต่อมาเมื่ออาณาจักรขอมล่มสลายลง คนไทยก็ได้เข้ามาครอบครองและตั้งเมืองขึ้นเรียกชื่อว่า "เมืองกัมโภช"
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ พอจะอนุมานได้ว่าที่เมืองทุ่งยั้ง แต่เดิมเคยเป็นเมืองใหญ่ที่เป็นชุมชนของพวก[[ละโว้|ละว้า]]และ[[ขอม]] มีความเจริญรุ่งเรืองมาช้านาน เพราะได้มีการขุดพบกลองมโหระทึกและพร้าสำริด ได้ในบริเวณดังกล่าว ต่อมาเมื่ออาณาจักรขอมล่มสลายลง คนไทยอาณาจักรสุโขทัยก็ได้เข้ามาครอบครองและตั้งเมืองขึ้นเรียกชื่อว่า "เมืองกัมโภชกัมโพช" ปัจจุบันคือเมืองทุ่งยั้ง และที่ตั้งเมืองลับแลในปัจจุบัน
 
[[ไฟล์:Samut Khoi Laplae1.jpg|150px|left|thumb|สมุดไทยบัญชีถือสังกัดมูลนายประจำแขวงเมืองลับแลในสมัย[[รัชกาลที่ 4]]]]
 
ทางด้านเหนือของเมืองกัมโภชกัมโพช มีภูมิประเทศเป็นป่าเขาสลับซับซ้อน มีบรรยากาศเยือกเย็นยามพลบค่ำแม้ตะวันจะยังไม่ตกดินก็จะมืดแล้ว เพราะมีดอยม่อนฤๅษีเป็นฉากกั้นแสงอาทิตย์ ป่านี้จึงได้ชื่อว่า "ป่าลับแลง" (''แลง'' เป็น[[ภาษาล้านนา]]แปลว่า เวลาเย็น) ต่อมาเพี้ยนเป็น "ลับแล" ซึ่งกลายมาเป็นชื่ออำเภอลับแลในสมัยปัจจุบัน
[[ไฟล์:ชาวลับแล.jpg|200px|thumb|การแต่งกายของชาวลับแลใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมัยรัชกาลที่ 5]] จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทำให้ทราบว่ากลุ่มชนแรกที่มาอยู่ในบริเวณเมืองลับแลในปัจจุบันนั้นอพยพมาจาก[[โยนกนาคพันธุ์|อาณาจักรเชียงแสนโบราณ (โยนกนาคพันธุ์)]]]]
 
อย่างไรก็ดี ลับแลได้เป็นส่วนหนึ่งของเมืองทุ่งยั้งในอาณาจักรสุโขทัย จนในปี [[พ.ศ. 1981]] [[เมืองทุ่งยั้ง]] ได้เจริญรุ่งเรืองขึ้นในฐานะเป็นเมืองหน้าด่านของ[[อาณาจักรอยุธยา]] ที่ตั้งของลับแลก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของเมืองทุ่งยั้งมาโดยตลอด จนต่อมาได้มีผู้คนจาก[[อาณาจักรโยนกเชียงแสน]] อพยพหลบภัยสงครามเข้ามาตั้งรกรากอยู่บริเวณที่ราบเขาแถบลับแล และตั้งชื่อว่า ''บ้านเชียงแสน'' ต่อมาคนกลุ่มนั้นก็แยกย้ายกันไปหักล้างถางดงสร้างบ้านเมือง ขึ้นกระจัดกระจายตามที่ราบและไหล่เขาต่าง ๆ ซึ่งปรากฎว่าได้มีการสร้างตำนานการอัญเชิญ [[เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร]] พระราชโอรสของพระเจ้าเรืองชัยธิราช จากอาณาจักรโยนกนาคนครเชียงแสนขึ้นอีกในช่วงหลัง และชุมชนลับแลมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ดังปรากฎการสร้างศาสนสถานวัดป่าสัก ซึ่งมีศิลปะเอกลักษณ์แบบอยุธยาผสมล้านนา
ทางด้านเหนือของเมืองกัมโภช มีภูมิประเทศเป็นป่าเขาสลับซับซ้อน มีบรรยากาศเยือกเย็นยามพลบค่ำแม้ตะวันจะยังไม่ตกดินก็จะมืดแล้ว เพราะมีดอยม่อนฤๅษีเป็นฉากกั้นแสงอาทิตย์ ป่านี้จึงได้ชื่อว่า "ป่าลับแลง" (''แลง'' เป็น[[ภาษาล้านนา]]แปลว่า เวลาเย็น) ต่อมาเพี้ยนเป็น "ลับแล" ซึ่งกลายมาเป็นชื่ออำเภอลับแลในสมัยปัจจุบัน
 
ในยุคเดียวกับการรวมตัวของเมืองกัมโภช ได้มีผู้คนจาก[[อาณาจักรโยนกเชียงแสน]] อพยพหลบภัยสงครามเข้ามาตั้งรกรากอยู่บริเวณที่ราบเขาแห่งหนี่งและตั้งชื่อว่า ''บ้านเชียงแสน'' ต่อมาคนกลุ่มนั้นก็แยกย้ายกันไปหักล้างถางดงสร้างบ้านเมือง ขึ้นกระจัดกระจายตามที่ราบและไหล่เขาต่าง ๆ เมื่อได้ทำมาหากินกันระยะหนึ่ง คนกลุ่มนั้นได้ไปอัญเชิญ [[เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร]] พระราชโอรสของพระเจ้าเรืองชัยธิราช จากอาณาจักรโยนกนาคนครเชียงแสน มาตั้งเมืองที่ป่าลับแล ให้ชื่อว่าเมืองลับแล และสร้าง [[คุ้มเจ้าหลวง]] หรือ [[หอคำ]] ขึ้นที่บ้านท้องลับแล (บริเวณ[[วัดเจดีย์คีรีวิหาร]]) เมื่ออาณาจักรโยนกเชียงแสนล่มสลายลง [[อาณาจักรล้านนา]]เฟื่องฟูแทน เมืองลับแลก็ยอมขึ้นกับอาณาจักรล้านนา ใน [[พ.ศ. 1690]] [[อาณาจักรสุโขทัย]]รุ่งเรืองขึ้น ก็เป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรสุโขทัย ในปี [[พ.ศ. 1981]] [[เมืองทุ่งยั้ง]] ได้เจริญรุ่งเรืองขึ้น เพราะเป็นเมืองหน้าด่านของ[[อาณาจักรอยุธยา]] เมืองลับแลจึงได้ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของเมืองทุ่งยั้ง ครั้นต่อมาใน[[สมัยรัตนโกสินทร์]] ในราว [[พ.ศ. 2444]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จประพาสเมือง[[อุตรดิตถ์]] และได้เสด็จมาถึงเมืองลับแลในวันที่ [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2444]] ได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดจากเมืองพิชัยมาตั้งที่บางโพ และยุบเมืองทุ่งยั้งรวมกับลับแล และสถาปนาเมืองลับแลขึ้นเป็นอำเภอ ส่วนอาคารที่ทำการยังตั้งอยู่ที่เมืองทุ่งยั้ง บริเวณใกล้เวียงเจ้าเงาะ
 
[[ไฟล์:อนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ 4.jpg|150px|left|thumb|อนุสาวรีย์[[พระศรีพนมมาศ]] คนดีเมืองลับแล บริเวณตัวเมืองลับแล]]
เส้น 34 ⟶ 37:
ต่อมาพระพิศาลคีรี ได้ย้ายอาคารที่ทำการไปตั้งที่ม่อนจำศีลในปีเดียวกันนี้ (ห่างจากที่ว่าการ อำเภอปัจจุบันไปทางทิศเหนือประมาณ 1 กิโลเมตร) ครั้นถึง [[พ.ศ. 2457]] สมัย [[พระศรีพนมมาศ]] (เมื่อครั้งเป็นหลวงศรีพนมมาศ) เห็นว่าห่างไกลจากตัวเมืองลำบากแก่ราษฎรไปติดต่อ ประกอบกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะสงวนที่ ''ม่อนจำศีล'' เป็นที่ประดิษฐานพระเหลือ ([[พระพุทธรูป]]ที่สร้างจากทองที่เหลือจากการหล่อ[[พระพุทธชินราช]]ที่[[จังหวัดพิษณุโลก]]) เพราะทรงเห็นว่าทิวทัศน์ของม่อนจำศีลคล้ายกับเมือง[[ชวา]]<ref>[http://www.thai-folksy.com/l2qua/l1-30/15-L2Q.htm รศ.ดร.ประจักษ์ สายแสง, ดร.ทิวารักษ์ เสรีภาพ.วรรณกรรมสองแคว ตอนที่ 15 เรื่อง ภูมินามวิทยา 5 : ลับแล]</ref> จึงได้ย้ายอาคารที่ทำการจากม่อนจำศีล มาอยู่ที่ ''ม่อนสยามินทร์'' (ชาวบ้านเรียกม่อนสามินทร์) เพราะเคยเป็นที่ตั้งพลับพลารับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอในปัจจุบัน<ref>[http://www.thaiutt.th.gs/web-t/haiutt/data2.htm ข้อมูลอำเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์.สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์]</ref>
 
== ศิลปะ วัฒนธรรม ==
ชาวเมืองลับแลดั้งเดิม มีภาษาถิ่นแบบสำเนียงสุโขทัยโบราณ คือในชุมชนรอบพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ตำบลทุ่งยั้ง ตำบลไผ่ล้อม ซึ่งเป็นเมืองโบราณที่ปรากฎหลักฐานในสมัยสุโขทัย และชุมชนเดิมในพื้นที่ตั้งตัวอำเภอลับแล ก่อนที่จะถูกทิ้งร้าง ปรากฎหลักฐานศิลาจารึกการสถาปนาพระธาตุเจดีย์พิหารในสมัยพระยาลิไทย สันนิษฐานว่าแถบที่ตั้งเมืองลับแลทั้งหมด เป็นชุมชนที่ใช้ภาษาถิ่นแบบสำเนียงสุโขทัยโบราณมาก่อนนับ ๗๐๐ ปี<ref>ศิลาจารึก . (๒๕๔๘). ประชุมจารึก ภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย. กรุงเทพ : กรมศิลปากร. หน้า ๙</ref>
ชาวเมืองลับแลเป็น[[ชาวไทยวน]]เดิมที่อพยพลงมาจาก[[อาณาจักรโยนกนาคนครเชียงแสน]]เมื่อ 1000 กว่าปีที่แล้ว ดังนั้นชาวลับแลจึงมีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมเป็นแบบ[[ล้านนา]]ดั้งเดิม มีภาษาพูด ภาษาเขียน การแต่งกาย อาหารการกิน เป็นแบบล้านนาดั้งเดิม และสำเนียงการพูดจะเป็นสำเนียงเชียงแสนโบราณ ที่มีใช้อยู่ในแถวล้านนาตะวันออก เช่น แพร่ น่าน เชียงราย พะเยา อุตรดิตถ์ และบางส่วนของสุโขทัย เป็นต้น
 
ก่อนที่จะมีการอพยพ[[ชาวไทยวน]]จาก[[อาณาจักรโยนกนาคนครเชียงแสน]]มาในสมัยหลัง ซึ่งปัจจุบัน[[ชาวไทยวน]]ในอำเภอลับแลส่วนใหญ่อยู่ในเขตตอนเหนือของอำเภอ และที่ตั้งตัวอำเภอ ส่วนเขตทางใต้ของอำเภอลับแล ยังคงเป็นชุมชนภาษาถิ่นแบบสำเนียงสุโขทัยโบราณอยู่ ดังนั้นชาวลับแลจึงมีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ทั้ง 2 วัฒนธรรม คือชุมชนภาษาถิ่นแบบสำเนียงสุโขทัยโบราณ และชุมชนภาษาถิ่น[[ล้านนา]] มีภาษาพูด ภาษาเขียน การแต่งกาย อาหารการกิน เป็นแบบล้านนา ที่มีใช้อยู่ในแถบล้านนาตะวันออก เช่น แพร่ น่าน เชียงราย และพะเยา เป็นต้น
 
== บุคคลสำคัญ ==
เส้น 100 ⟶ 105:
== การเดินทาง ==
อำเภอลับแล อยู่ห่างจากตัวเมือง[[อุตรดิตถ์]] 9 [[กิโลเมตร]] ไปตาม[[ทางหลวงหมายเลข 102]] ประมาณ 5 กิโลเมตร เข้าเขตตำบลทุ่งยั้ง อำเภอลับแล หรือไปตามทางหลวงหมายเลข 1041 (ถนนอินใจมี) ประมาณ 7 กิโลเมตร ผ่านตำบลท่าเสา อำเภอเมือง และเข้าสู่ตำบลศรีพนมาศ อำเภอลับแล
 
== เชิงอรรถ ==
{{fnb|1}} เมืองลับแลเดิมนั้นสันนิษฐานว่าเป็นชุมชนในสมัยสุโขทัย ก่อนจะร้างลงในช่วงหลัง ดังการพบหลักฐานปฐมภูมิ คือศิลาจารึกซึ่งขุดได้ที่หน้าวิหารวัดเจดีย์คีรีวิหาร มหาอำมาตย์ตรี พระยานครพระราม ส่งเข้าหอสมุดวชิรญาณ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2473 ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ให้ความเห็นว่าเนื้อหาจารึกน่าจะกล่าวตั้งแต่ครั้งเมื่อพระยาลิไทยขึ้นเสวยราชย์ ประกอบกับเนื้อหาในศิลาจารึก การสถาปนาพระบรมธาตุโดยพระยาลิไทย สอดคล้องกับลักษณะของฐานพระเจดีย์วัดเจดีย์คีรีวิหาร ที่มีเค้าโครงของฐานเขียงสามชั้นแบบสุโขทัย ศิลาจารึกดังกล่าวจึงเป็นเครื่องยืนยันว่าที่ตั้งเมืองลับแลในปัจจุบัน เป็นชุมชนโบราณมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ก่อนจะถูกทิ้งร้างและมีการอพยพเทครัวชาวเชียงแสนมาตั้งรกรากเพิ่มเติมในช่วงหลัง<ref>ศิลาจารึก . (๒๕๔๘). ประชุมจารึก ภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย. กรุงเทพ : กรมศิลปากร. หน้า ๙</ref>
 
== อ้างอิง ==