ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมฆมาเจลลัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
Alpinu (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: French spelling (Planisphère, Célestes, Mémoires Académie)
บรรทัด 7:
เมฆแมเจลแลนเป็นที่รู้จักกันมานานแล้วตั้งแต่ยุคโบราณในตะวันออกกลาง การอ้างอิงถึงเมฆแมเจลแลนใหญ่ครั้งแรกทำโดย[[นักดาราศาสตร์]][[ชาวเปอร์เซีย]]ชื่อ อัล ซูฟี ในหนังสือ ''Book of Fixed Star'' ที่เขาเขียนในปี [[ค.ศ. 964]] เรียกดาราจักรนี้ว่า ''Al Bakr'' ซึ่งหมายถึง "แกะแห่งอาหรับใต้" ทั้งยังระบุด้วยว่าทางตอนเหนือของ[[คาบสมุทรอาหรับ]]กับใน[[แบกแดด]]ไม่สามารถมองเห็นดาราจักรนี้ แต่จะมองเห็นได้จาก[[ช่องแคบบับเอลมันเดบ]]ที่ละติจูด 12°15' เหนือ
 
ใน[[ยุโรป]] คณะสำรวจของ[[เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน]] เป็นผู้แรกที่สังเกตเห็นเมฆนี้ในระหว่างการแล่นเรือรอบโลกระหว่างปี ค.ศ. 1519-1522 โดยมีการบันทึกไว้โดย[[อันโตนีโอ ปีกาเฟตตา]] อย่างไรก็ดีการเรียกชื่อเมฆเหล่านี้ตามนามสกุลของมาเจลลันยังไม่เป็นที่แพร่หลายนักจนเวลาผ่านไปอีกนาน ในรายการดวงดาว ''Uranometria'' ของ[[โยฮันน์ ไบเออร์|ไบเออร์]] นักดาราศาสตร์ชาว[[เยอรมัน]]เรียกเมฆทั้งสองนี้ว่า "นูเบคูลาใหญ่" (Nubecula Major)<ref>[http://www.usno.navy.mil/library/rare/BayerUran1661PiscisBot.jpg http://www.usno.navy.mil/library/rare/BayerUran1661PiscisBot.jpg] ''Usno.navy.mil'' เก็บข้อมูลเมื่อ [[2007-05-31]] </ref> และ "นูเบคูลาเล็ก" (Nubecula Minor) แม้ในแผนที่ดาวฉบับปี ค.ศ. 1756 ของ[[นิโคลัส หลุยส์ เดอ ลาซายล์|ลาซายล์]] นักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เมฆทั้งสองนี้ก็ยังมีชื่อว่า "Le Grand Nuage" กับ "Le Petit Nuage"<ref name="lacaille">de Lacaille, N. L., (1756) "PlanispherePlanisphère contenant les Constellations CelestesCélestes", ''MemoiresMémoires AcademieAcadémie Royale des Sciences'' pour 1752. ([http://www.lindahall.org/events_exhib/exhibit/exhibits/stars/lac.htm Linda Hall Liblary], Retrieved on 2009-09-05)</ref> (ภาษาฝรั่งเศส มีความหมายว่า "เมฆใหญ่" และ "เมฆเล็ก" ตามลำดับ)
 
== ดูเพิ่ม ==