ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าอนุวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 6037537 สร้างโดย 1.4.150.37 (พูดคุย)
ย้อนการแก้ไขที่ 6037532 สร้างโดย 1.4.150.37 (พูดคุย)
บรรทัด 102:
พุทธศักราช ๒๓๗๐ (จุลศักราช ๑๑๘๙) ทรงอัญเชิญพระแสง พระพุทธรูปสำคัญของนครเวียงจันทน์ไปประดิษฐาน ณ ถ้ำเมืองมหาไชยกองแก้ว ในตำนานว่าพระแสงสร้างพร้อมกันกับพระสุก พระเสริม และพระใส พระแสงสร้างโดยเจ้านางคำแสงพระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ต่อมา หลังสงครามเจ้าอนุวงศ์สยามได้สั่งให้เจ้าเมืองนครพนมเชิญขึ้นไปประดิษฐาน ณ กรุงเทพมหานคร แต่พระแสงสำแดงปาฏิหาริย์ไม่ยอมเสด็จจนเกวียนอัญเชิญหัก เจ้าเมืองจึงนำมาประดิษฐานไว้ ณ วัดป่า ต่อมาจึงนำมาประดิษฐาน ณ วัดศรีคุณเมืองกลางเมืองนครพนม ปัจจุบันคือวัดศรีเทพประดิษฐาราม จังหวัดนครพนม<ref>หนูเที่ยว, สักการะพระแสง และ หลวงปู่จันทร์ เขมิโย วัดศรีเทพประดิษฐาราม จ.นครพนม จาก http://www.tinyzone.tv/TravelDetail.aspx?ctpostid=2464., ๒๔๗๙.</ref> นอกจากนี้ ในตำนานเมืองหินบูนหรือเมืองฟองวินห์เก่า ยังกล่าวว่า เมื่อครั้งเสด็จลี้ภัยไปประทับ ณ ถ้ำผาช่างหรือถ้ำผาช้าง เขตเมืองอรันรัตจานาโบราณและเมืองเวียงสุรินทร์โบราณ ปัจจุบันคือส่วนหนึ่งของเมืองหินบูน ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทรงโปรดให้บูรณะปัดกวาดพระอุโบสถโบราณ (สิมเก่า) ในเมืองนี้มากถึง ๑๒ แห่ง และโปรดให้บูรณะกะตืบ (กุฏิหรืออาคารตึกดิน) ด้วยกันอีก ๑ แห่ง รวมเป็น ๑๓ แห่ง ฝ่ายตำนานเมืองมหาชนไชยก่องแก้วหรือเมืองมหาชัยของลาวนั้นกล่าวว่า เมื่อครั้งเสด็จมาสู้ศึกทหารไทยที่ถ้ำผานางเมืองมหาไชย ทรงตั้งทัพที่วัดแถนอันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปทองคำ พระพุทธรูปทองแดง และพระพุทธรูปเงิน ทรงโปรดเกล้าให้พระสงฆ์และชาวเมืองนำพระพุทธรูปมีค่าทั้งหลายไปประดิษฐานซุกซ่อนไว้ในถ้ำผานางใกล้น้ำสร้างแก้ว<ref>มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, อานาจักสีโคตตะบูน. เชียงราย, ๒๕๕๓.</ref>
 
นอกจากนี้ในตำนานเมืองร้อยเอ็ดยังกล่าวว่า พระองค์ยังทรงเสด็จไปสร้างสิมหลวงกลางเมืองร้อยเอ็ดตั้งแต่ครั้งเป็นและโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าอุปราชอุปฮาตเวียงจันทน์เสด็จไปควบคุมดูแลการก่อสร้างด้วย ตามคำขอของญแม่หมานุย หม่อมของพระองค์ธิดาในการณ์นี้พระยาขัติยวงษาพิสุทธาธิบดีขัติยวงศา (เจ้าสีลัง) เจ้าเมืองร้อยเอ็ดร้อยเอ็จ โดยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยผูกลายเป็นเครือเถาดอกพุดตานพระราชทานให้ได้ถวายธิดาผู้หนึ่งชื่อ อาชญานางนุ้ย โดยให้เป็นสิมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดหม่อมหรือบาทบริจาริกาในอีสานพระองค์ด้วย
 
== วรรณกรรมลาวที่เกี่ยวเนื่องกับพระราชประวัติ ==