ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกอ๊อด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
นอกจากนี้แล้ว ลูกอ๊อดแต่ละชนิดจะมีรูปร่างต่างกันแล้ว ยังมีระบบนิเวศที่อาศัยแตกต่างกันอีก ลูกอ๊อดบางชนิดจะว่ายน้ำระดับผิวน้ำหรือกลางน้ำและกินอาหาร แต่บางชนิดจะไม่กินอาหารแต่จะใช้อาหารจาก[[ถุงไข่แดง]]ที่ติดมาจาก[[ไข่]]แทน บางชนิดเกาะติดอยู่กับก้อน[[หิน]]หรือโขดหินใน[[ลำธาร]]ที่มีน้ำไหลแรง บางชนิดซุกซ่อนตัวอยู่ใน[[โคลน]]ที่ใต้พื้นน้ำ ขณะที่บางชนิดจะอยู่ในน้ำบน[[ใบไม้]]<ref>หน้า 316-317, ''วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก'' โดย วีรยุทธ์ เลาหะจินดา ([[พ.ศ. 2552]]) ISBN 978-616-556-016-0</ref>
 
ลูกอ๊อด หรือลูกฮวก หรืออีฮวก ในภาษาอีสานหรือภาษาเหนือ สามารถนำไปปรุงเป็นอาหารได้ในอาหารพื้นบ้านแบบอีสานหรืออาหารเหนือ เช่น แอ็บ, หมก หรือน้ำพริก<ref>รัตนา พรหมพิชัย. (2542). แอ็บ. ใน ''สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ'' (เล่ม 15, หน้า 8111-8112).กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์</ref>
 
==อ้างอิง==