ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเทียมพ้องคาบโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rotlink (คุย | ส่วนร่วม)
fixing dead links
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:Geostationaryjava3Dsideview.gif|thumb|ดาวเทียมในวงโคจรจีโอซิงโครนัส (หรือ วงโคจรค้างฟ้า)]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
'''ดาวเทียมพ้องคาบโลก''' ({{lang-en|Geosynchronous satellite}}) เป็นดาวเทียมที่มีเส้นทาง[[วงโคจร]]ที่เวียนมาซ้ำจุดเดิมอยู่เสมอเป็นประจำ ถ้าวงโคจรของ[[ดาวเทียม]]ประเภทนี้อยู่เหนือ[[เส้นศูนย์สูตร]]และมีและโคจรเป็นวงกลม เรียกว่า [[ดาวเทียมประจำที่]] (Geostationary satellite) วงโคจรของดาวเทียมจึงมีชื่อเรียกสองอย่างคือ ''วงโคจรพ้องคาบโลก'' และ ''วงโคจรประจำที่'' วงโคจรพ้องคาบโลกอีกประเภทหนึ่งได้แก่ ''วงโคจรวงรีทรุนดา'' (Tundra elliptical orbit) โครงข่ายพ้องคาบโลก คือโครงข่ายของ[[การสื่อสาร]]ที่ขึ้นอยู่กับ หรือ ยิง[[สัญญาณ]]ผ่านดาวเทียมพ้องข้ามโลกนั่นเอง
'''ดาวเทียมพ้องคาบโลก''' ({{lang-en|geosynchronous satellite}}) หมายถึงดาวเทียมที่โคจรอยู่ใน[[วงโคจรจีโอซิงโครนัส]] ซึ่งมี[[คาบการโคจร]]เท่ากับ[[คาบการหมุนรอบตัวเอง]]ของ[[โลก (ดาวเคราะห์)|โลก]] หรืออีกนัยคือ เมื่อเวลาผ่านไป[[หนึ่งวันตามจริง]] (23 ชั่วโมง 56 นาที 4 วินาที) ดาวเทียมดวงนั้น จะกลับมาอยู่ที่ตำแหน่งเดิมเมื่อมองจากพื้นโลกจุดเดิม ทั้งนี้ในกรณีที่เป็นดาวเทียมที่โคจรอยู่ใน[[วงโคจรค้างฟ้า]] เราจะเรียกดาวเทียมประเภทนี้ว่า '''ดาวเทียมค้างฟ้า''' หรือ '''ดาวเทียมประจำที่''' ({{lang-en|geostationary satellite}}) แทน
 
== นิยาม ==