ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มรสุม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yellowmangoman (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[File:Monsoon clouds near Nagercoil.jpg|thumb|upright=1.2|ภาพกลุ่มเมฆและฝนที่เกิดจากมรสุม]]
[[Imageไฟล์:Monsoon clouds Lucknownear Nagercoil.JPGjpg|thumb|upright=1.2|ภาพแสดงกลุ่มเมฆและฝนที่เกิดจากมรสุม]]
[[Fileไฟล์:Monsoon clouds near NagercoilLucknow.jpgJPG|thumb|upright=1.2|ภาพแสดงกลุ่มเมฆและฝนที่เกิดจากมรสุม]]
'''มรสุม''' เป็นการหมุนเวียนส่วนหนึ่งของลมที่พัดตามฤดูกาล คือ ลมประจำฤดู เป็นลมแน่ทิศและสม่ำเสมอ สาเหตุใหญ่ ๆ เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดิน และพื้นน้ำในฤดูหนาวอุณหภูมิของพื้นดินเย็นกว่า อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทร อากาศเหนือพื้นน้ำจึงมีอุณหภูมิสูงกว่า และลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน อากาศเหนือทวีปซึ่งเย็นกว่าไหลไปแทนที่ ทำให้เกิดเป็นลมพัดออกจากทวีป พอถึงฤดูร้อนอุณหภูมิของดินภาคพื้นทวีปร้อนกว่าน้ำในมหาสมุทร เป็นเหตุให้เกิดลมพัดในทิศทางตรงข้าม ลมมรสุมที่มีกำลังแรงจัดที่สุดได้แก่ ลมมรสุมที่เกิดในบริเวณภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของ[[ทวีปเอเชีย]]
 
เส้น 8 ⟶ 9:
 
==การศึกษาความเป็นมา==
[[Imageไฟล์:MatheranPanoramaPointDrySeason.JPG|300px|thumb|ภาพถ่ายแนวภูเขากาสท์ส ของประเทศอินเดีย ถ่ายเมื่อฤดูแล้ง 28 สิงหาคม 2010]]
[[Imageไฟล์:MatheranPanoramaPointMonsoon.JPG|300px|thumb|ภาพถ่ายแนวภูเขากาสท์ส ของประเทศอินเดีย ถ่ายเมื่อฤดูฝน 28 สิงหาคม 2010]]
มรสุมของทวีปเอเชียมีความเป็นมาเกี่ยวข้องกับการยกตัวขึ้นของ[[ที่ราบสูงทิเบต]]หลังจากการชนกันของ[[อนุทวีปอินเดีย]]และ[[ทวีปเอเชีย]]เมื่อ 50 ล้านปีก่อน<ref>ROYDEN, L.H., BURCHFIEL, B.C., VAN DER HILST, Rob, WHIPPLE, K.X., HODGES, K.V., KING, R.W., and CHEN, Zhiliang. [http://gsa.confex.com/gsa/2006AM/finalprogram/abstract_109662.htm UPLIFT AND EVOLUTION OF THE EASTERN TIBETAN PLATEAU.] Retrieved on 2008-05-11.</ref> จาการศึกษาเก็บข้อมูลจากทะเลอาหรับและจากลมที่พัดฝุ่นที่ราบสูงโลเอส({{lang-en|[[:en:Loess Plateau]]}})ในประเทศจีน นักธรณีวิทยาส่วนใหญ่เชื่อว่าลมมรสุมเพิ่มความรุนแรงขึ้นเมื่อประมาณ 8 ล้านปีที่แล้ว จากการศึกษา[[ซากดึกดำบรรพ์]]ของพืชในประเทศจีนและจากการเก็บข้อมูลตะกอนในทะเลจีนใต้ทำให้ทราบว่ามรสุมเริ่มเกิดขึ้นเมื่อ 15-20 ล้านปีที่ผ่านมาซึ่งเชื่อมโยงกับการยกตัวขึ้นของที่รายสูงทิเบต<ref>P. D. Clift, M. K. Clark, and L. H. Royden. [http://www.cosis.net/abstracts/EAE03/04300/EAE03-J-04300.pdf An Erosional Record of the Tibetan Plateau Uplift and Monsoon Strengthening in the Asian Marginal Seas.] Retrieved on 2008-05-11.</ref>
 
เส้น 20 ⟶ 21:
เมื่ออุณหภูมิของผืนดินสูงกว่าหรือต่ำกว่าอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับอุณหภูมิของน้ำ ความไม่สมดุลของอุณหภูมินี้เกิดจากความสามารถในการรับความร้อนที่ต่างกัน บริเวณเหนือพื้นผิวน้ำอุณหภูมิพื้นผิวจะมีความเสถียรด้วยเหตุผลสองอย่าง อย่างแรก คือ น้ำมีค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อนที่สูงกว่า(3.9 ถึง 4.2 J g<sup>−1</sup> K<sup>−1</sup>)<ref>http://www.engineeringtoolbox.com/specific-heat-fluids-d_151.html</ref> และ อย่างที่สอง จาก[[การนำความร้อน]]และ[[การพาความร้อน]]ช่วยในการรักษาอุณหภูมิให้มีความสมดุลกับมวลน้ำที่อยู่ในระดับที่ลึกลงไป (จนถึง 50 เมตร) ในทางตรงกันข้าม พื้นดินประกอบด้วย ดิน หิน ทราย ฝุ่น ฯลฯ มีค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อนที่ต่ำกว่า (0.19 ถึง 0.35 J g<sup>−1</sup> K<sup>−1</sup>),<ref>http://www.engineeringtoolbox.com/specific-heat-solids-d_154.html</ref> และสามารถถ่ายเทความร้อนสู่พื้นโลกได้เฉพาะวิธีการนำความร้อนเท่านั้น ไม่สามารถพาความร้อนได้ จึงเป็นเหตุผลให้อุณหภูมิของน้ำมีความเสถียรมากกว่าอุณหภูมิของพื้นดินที่มีการเปลี่ยนแปลงไปมา
 
[[Fileไฟล์:Incoming monsoon clouds over Arizona.jpg|thumb|right|เมฆมรสุมที่กำลังเคลื่อนที่เหนือเมืองฟินิกซ์ [[รัฐแอริโซนา]] [[สหรัฐอเมริกา]]]]
ในช่วงที่มีสภาพอากาศอบอุ่น แสงแดดทำให้อุณหภูมิทั้งของพื้นดินและน้ำเพิ่มสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ดีอุณหภูมิของพื้นดินจะเพิ่มสูงขึ้นเร็วกว่า เมื่อพื้นดินมีอุณหภูมิที่สูงกว่าทำให้อากาศเหนือพื้นดินขยายตัวขึ้นเกิดเป็น[[บริเวณความกดอากาศต่ำ]] ในขณะที่อุณหภูมิเหนือผิวน้ำมีค่าต่ำกว่า ทำให้มีความหนาแน่นมวลอากาศที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกัน ด้วยความแตกต่างของความกดอากาศระหว่างสองบริเวณทำให้เกิดลมทะเลซึ่งพัดจากทะเลเข้าสูงฝั่ง นำพามวลอากาศที่ชื้นเข้าสู่แผ่นดิน มวลอากาศที่ชื้นเหล่านี้จะยกตัวสูงขึ้นเมื่อเคลื่อนที่ผ่านแผ่นดิน และลอยย้อนกลับไปสู่มหาสมุทร(ในลักษณะของวงจรวัฏจักร) โดยที่มวลอากาศเมื่ออยู่เหนือแผ่นดินและลอยสูงขึ้นทำให้มีการเย็นตัวลง จึงทำให้เกิดฝนตกฝนตกขึ้นในบริเวณแผ่นดิน
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มรสุม"