ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
|พระบิดา =
|พระมารดา=
|พระมเหสี = แม่เจ้าพิมพาปิมปามหาเทวี
|พระโอรส/ธิดา = 10 พระองค์
|ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
บรรทัด 23:
 
== พระประวัติ ==
พระยาสุลวะลือไชยสงคราม เดิมเป็นสามัญชนชาวบ้านปงยางคก (ปัจจุบันคือ ตำบลปงยางคก [[อำเภอห้างฉัตร]]) มีนามเดิมว่า "ทิพย์จักร" เกิดในราวปี พ.ศ. 2217 ได้บวชเรียนที่วัดปงยางคก และสึกออกมาประกอบอาชีพพรานป่า มีความเชี่ยวชาญการใช้อาวุธ และมีความสามารถในการขับไล่และตัดหางช้างที่มารบกวนพืชผลของชาวบ้านได้ ชาวบ้านจึงขนานนามว่า "หนานทิพย์ช้าง"<ref name="อนุสรณ์">สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง, '''อนุสรณ์สถานพ่อเจ้าทิพย์ช้าง''', ลำปาง : สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง, 2554</ref> หนานทิพย์ช้าง มีภรรยาคนหนึ่งชื่อ "นางปิมปา" ชาวบ้านหนาดคำ แคว้นบ้านเอื้อม (ปัจจุบันคือ ตำบลบ้านเอื้อม [[อำเภอเมืองลำปาง]])
 
ในช่วงปลายของกรุงศรีอยุธยา [[นครเชียงใหม่]]และ[[อาณาจักรล้านนา]]เป็นเมืองขึ้นของพม่า ส่วนลำปางเป็นนครรัฐอิสระ กระทั่งท้าวหนานมหายศ เจ้าเมืองลำพูนยกทัพมาตีชนะเมืองลำปาง และตั้งศูนย์บัญชาการที่วัดพระธาตุลำปางหลวง เหล่าบรรดาประชาชนจึงได้ขอให้หนานทิพย์ช้าง นายพรานผู้เก่งกล้าและเชี่ยวชาญอาวุธปืนยาวและหน้าไม้ เป็นผู้นำในการกอบกู้นครลำปาง โดยสามารถรบชนะและสังหารท้าวมหายศได้ที่วัดพระธาตุลำปางหลวง ชาวเมืองจึงร่วมกันสถาปนาหนานทิพย์ช้าง ขึ้นครองนครลำปาง ในปี พ.ศ. 2275<ref>วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. '''เจ้าหลวงลำพูน''' กรุงเทพฯ : อัมรันทร์พริ้นติ้ง. 2552</ref> มีพระนามว่า '''พระญาสุลวะลือไชย'''
 
เส้น 51 ⟶ 53:
 
== อนุสรณ์สถาน ==
สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง ได้ดำเนินการจัดสร้างอนุสรณ์สถานพระยาสุลวลือไชยสงคราม บริเวณบ้านหนาดคำ ตำบลบ้านเอื้อม อำเภอเมืองลำปาง ซึ่งเป็นบ้านเกิดของแม่เจ้าปิมปา ปิมปามหาเทวี ในพระยาสุลวลือไชยสงคราม และเป็นที่พำนักของหนานทิพย์ช้าง ก่อนจะขึ้นครองนครลำปาง
 
ภายในบริเวณอนุสรณ์สถานประกอบด้วย อาคารเรือนพ่อเจ้าทิพย์ช้าง เป็นอาคารเรือนไม้ยกพื้นสูง และอาคารแสดงนิทรรศการพ่อเจ้าทิพย์ช้าง
 
== อ้างอิง ==
เส้น 71 ⟶ 75:
{{เกิดปี|2217}}
{{ตายปี|2302}}
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครลำปาง|เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ทิพย์จักร| ]]
 
{{โครงประวัติศาสตร์}}