ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไป่ตู้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 48:
อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2557 รัฐบาลประเทศญี่ปุ่นประกาศให้โปรแกรมในเครือไป่ตู้ ได้แก่ Baidu IME (โปรแกรมช่วยพิมพ์ภาษาญี่ปุ่น), PC Faster, Baidu Antivirus, Hao123, Spark Browser เป็นต้น เป็นโปรแกรมอันตราย และได้เตือนเจ้าหน้าที่และพนักงานของรัฐไม่ให้ใช้งานโปรแกรมดังกล่าว เนื่องจากมีการละเมิดความเป็นส่วนตัว เช่น การลักลอบขโมยข้อมูลของผู้ใช้งาน เป็นต้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่อความมั่นคงของประเทศได้<ref>{{cite web |url=http://www.techrepublic.com/blog/asian-technology/japanese-government-warns-baidu-ime-is-spying-on-users/ |title=Japanese government warns Baidu IME is spying on users |first1=James|last1=Sanders |date= 15 มกราคม 2557|website=TechRepublic |publisher= |accessdate=28 ตุลาคม 2557}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.japantimes.co.jp/news/2013/12/26/national/chinese-made-computer-input-system-banned-in-government-agencies/ |title=Free Chinese-made software poses security risk |first=Atsushi |last=Kodera |date=26 ธันวาคม 2556|website=Japan Times |publisher= |accessdate=28 ตุลาคม 2557}}</ref> [[มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด]]ในประเทศไทยได้มีคำแนะนำให้ผู้ใช้ลบโปรแกรมไปตู้ออกเช่นเดียวกัน โดยให้เหตุผลว่าซอฟต์แวร์เหล่านี้มีพฤติกรรมคล้าย[[มัลแวร์]] ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นโปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์
 
แถมยังเป็นโฑปรแกรมโปรแกรมที่เลวมากๆ เพราะมันจะแฝงมากลับโปรแกรมอื่นๆ โดยที่ผู้ใช้งานไม่สามารถรู้ได้ เฉกเช่นดั่งพยาธิที่แทรกมากับเนื้อ<ref>{{cite web |url=http://it.stamford.edu/2014/07/advisory-baidu-pc-faster/ |title=IT Advisory: Baidu PC Faster |last1=Visojsongkram |first1=Teerayuth |date=21 กรกฎาคม 2557 |website= Information Technology - Support & Services |publisher=Stamford International University |accessdate=28 ตุลาคม 2557 }} </ref>
 
==อ้างอิง==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไป่ตู้"