ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
กระบวนการโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Movement) เป็นการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ ที่ใดที่หนึ่งของโลกทุก 4 ปี เป็นลำดับไป โดยไม่ขาดตอนหรือหยุดยั้งอยู่ที่ใดที่หนึ่ง หรือล้มเลิกไปเหมือนอย่างในอดีตกาล รวมเข้าไปด้วย องค์กรต่างๆ นักกีฬา และ บุคคลที่เห็นด้วยกับแนวทางของกฎบัตรโอลิมปิก
{{เก็บกวาด}}
'''พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์''' เป็นเอกสารสำคัญที่เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์ว่ามีความถูกต้องน่าเชื่อถือได้ฉบับหนึ่งในบรรดา[[พงศาวดาร]][[กรุงศรีอยุธยา]]ฉบับต่างๆ ที่มีปรากฏอยู่ในปัจจุบัน โดยพงศาวดารฉบับนี้ได้ถูกเขียนขึ้นใน พ.ศ. 2223 สมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่มีมาแต่เดิมแต่ตัดทอนเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอภินิหารต่างๆออกให้คงเหลือเฉพาะบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์อยุธยา เนื้อหาตามเดิมแบ่งเป็นสองเล่ม ในเล่มที่หนึ่งบันทึกเหตุการณ์ตั้งแต่แรกสถาปนากรุงศรีอยุธยา จนถึงรัชสมัยของ[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]และเล่มที่ 2 อาจกล่าวถึงเหตุการณ์ต่อจากนั้น ซึ่งเฉพาะเล่มที่ 1 เท่านั้นที่หลงเหลือตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน
 
เหตุที่พระราชพงศาวดารฉบับนี้มีชื่อว่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ นั้น เนื่องจากพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ) เปรียญ เมื่อครั้งยังเป็นหลวงประเสริฐอักษรนิติ์อยู่นั้น ท่านได้พระราชพงศาวดารฉบับนี้จากบ้านราษฎรแห่งหนึ่งก่อนที่จะถูกนำไปเผาไฟและได้นำเอามาให้ที่[[หอสมุดพระวชิรญาณ]]เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2450 ดังนั้น เมื่อนำออกมาเผยแพร่จึงได้เรียกชื่อพระราชพงศาวดารฉบับนี้ตามชื่อผู้ค้นพบ
กระบวนการโอลิมปิก ประกอบไปด้วยผู้ที่เห็นด้วยกับแนวทางของกฎบัตรโอลิมปิก และผู้ที่รับรองอำนาจของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (อังกฤษ: International Olympic Committee หรือ IOC) รวมไปถึง สหพันธ์ระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Federations หรือ IF) ของกีฬาที่มีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก, คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (อังกฤษ: National Olympic Committees หรือ NOCs), คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Organising Committees of the Olympic Games หรือ OCOGs) นักกีฬา กรรมการผู้ตัดสิน และผู้ตัดสิน สมาคม ชมรม รวมไปถึงองค์กรและสถาบันที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากล
 
พงศาวดารฉบับนี้บันทึกรายละเอียดที่น่าสนใจหลายประการ เช่น
 
* พ.ศ. 1867 สร้างหลวงพ่อโต วัดพนัญเชิงก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยา 26 ปี
* พ.ศ. 1893 พระรามาธิบดีที่ 1 สถาปนากรุงศรีอยุธยา
* เมืองชากังราวอาจไม่ใช่เมืองเดียวกันกับเมืองกำแพงเพชร
* สมัยพระบรมราชาที่ 1 ขุนหลวงพ่องั่ว มีเจ้าเมืองไทยเมืองเหนือชื่อพระยาคำแหง และ ท้าวผ่าคอง
* พ.ศ. 1952 พระนครินทราชายึดอำนาจให้พระรามราชา ไปครองเมืองปท่าคูจาม
* สมัยพระนครินทราชา มีเจ้าเมืองไทยเมืองเหนือชื่อพระยาบาลเมืองและพระยาราม
* พ.ศ. 1967 เจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาชนช้างกันเอง ทำให้เจ้าสามพระยาได้ราชสมบัติ สร้างวัดราชบูรณ
* พ.ศ. 1974 เจ้าสามพระยา ตีเมืองกัมพูชาได้สำเร็จ ให้พระโอรสชื่อพระนครอินทร์ครองเมืองนครหลวง ส่วนราชโอรสอีกองค์คือพระราเมศวรภายหลังให้ครองเมืองพิษณุโลก
* เมืองชัยนาทเป็นชื่อเดิมของเมืองพิษณุโลก (เสนอโดย ศ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร)
* พ.ศ. 1991 พระบรมไตรโลกนาถเสวยราชสมบัติ
* พ.ศ. 2006 พระบรมไตรโลกนาถ ครองเมืองพิษณุโลก ให้พระอินทราชาครองกรุงศรีอยุธยา
* พระอินทราชา พระโอรสของพระบรมไตรโลกนาถ ชนช้างกับข้าศึกจำนวน 1:4 ในการศึกเมืองเหนือ
* พ.ศ. 2031 พระอินทราชาตีเมืองทวายได้ ในปีเดียวกับที่พระบรมไตรโลกนาถสวรรคต
* พระรามาธิบดีที่ 2 สร้างวิหารวัดพระศรีสรรเพช์ญ รวบรวมตำราพิชัยสงคราม
* พ.ศ. 2067 มีบัตรสนเท่ห์ พระรามาธิบดีที่ 2 ฆ่าขุนนางจำนวนมาก
* พ.ศ. 2072 มีดาวหางใหญ่ปรากฏ พระรามาธิบดีที่ 2 สวรรคต
* พ.ศ. 2077 พระไชยราชาธิราช ปราบดาภิเษก
* พ.ศ. 2088 พระไชยราชาธิราช สร้างวัดชีเชียง เสด็จตีเมืองเชียงไกร เชียงกราน
* พ.ศ. 2088 พระไชยราชาธิราช ตีเมืองเชียงใหม่ มีพระยาพิษณุโลกเป็นทัพหน้า เกิดไฟไหม้ใหญ่ในกรุงศรีอยุธยา
* พ.ศ. 2091 จากกรณีขุนชินราช และท้าวศรีสุดาจันทร์ พระมหาจักรพรรดิเสวยราชสมบัติ (100 ปีหลังพระบรมไตรโลกนาถ) เกิดศึกพม่าเสียพระศรีสุริโยทัย ส่วนพระมหาธรรมราชาและพระราเมศวรถูกพม่าล้อมจับ ต้องไถ่ถอนที่เมืองกำแพงเพชร
* พ.ศ. 2106 บุเรงนองตีเมืองเหนือได้จากนั้นมาล้อมกรุง พระมหาจักรพรรดิยอมอ่อนน้อม พระราเมศวรเป็นตัวประกัน
* พ.ศ. 2112 บุเรงนองตีพระนครศรีอยุธยาได้ พระมหินทราธิราชถูกจับไปหงสาวดี พระมหาธรรมราชาครองอยุธยา
* เรียกขานพระนามพระเนรศ (วร) ว่าพระนารายณ์บพิตรเป็นเจ้า
* พ.ศ. 2114 พระเนรศวรราชาเสด็จไปครองเมืองพิษณุโลก
* พ.ศ. 2117 พระเจ้าลูกเธอองค์หนึ่งประชวรไข้ทรพิษ
* พ.ศ. 2124 บุเรงนองสวรรคต พระยาละแวกตีเมืองเพชรบุรี กบฏญาณประเชียรเมืองลพบุรี
* พ.ศ. 2127 พระเนรศวรราชายกทัพไปหงสาวดี จากนั้นเทครัวหัวเมืองเหนือเพื่อรับศึกนันทบุเรง
* พ.ศ. 2127 ศึกนันทบุเรงติดพระนคร พระเนรศวรราชาทรงม้านำทัพออกตีข้าศึก ใช้พระแสงทวนรบกับข้าศึกแบบตะลุมบอน
* พ.ศ. 2131 แผ่นดินไหว
* พ.ศ. 2135 สงครามยุทธหัตถี พระมหาอุปราชาขาดคอช้าง
* พ.ศ. 2138 เสด็จตีเมืองหงสาวดี
* พ.ศ. 2142 เสด็จตีเมืองตองอู
* พ.ศ. 2144 เกิดสุริยุปราคา
* พ.ศ. 2146 ทัพฝ่ายหน้าตีเมืองขอมได้
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
{{วิกิซอร์ซบนบรรทัด|1=นิทานโบราณคดี/นิทานที่ 9|2=ประวัติการได้มาซึ่งพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐฯ โดย กรมพระยาดำรงราชานุภาพ}}
 
[[หมวดหมู่:พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา]]
 
{{โครงประวัติศาสตร์}}