ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระจับปี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''กระจับปี่''' เป็น[[เครื่องดนตรี]]ประเภทดีด หรือ[[พิณ]] 4 สายชนิดหนึ่ง ตัวกะโหลกเป็นรูปกลมรีแบนทั้งหน้าหลัง มีความหนาประมาณ 7 ซม. ด้านหน้ายาวประมาณ 44 ซม. กว้างประมาณ 40 ซม. ทำคันทวนเรียวยาวประมาณ 138 ซม. ตอนปลายคันทวนมีลักษณะ แบน และบานปลายผายโค้งออกไป ถ้าวัดรวมทั้งคันทวนและตัว กะโหลก จะมีความยาวประมาณ 180 ซม. มีลูกบิดสำหรับขึ้นสาย 4 อัน มีนมรับนิ้ว 11 นมเท่ากับ[[จะเข้]] ตรงด้านหน้ากะโหลกมีแผ่นไม้บางๆ ทำเป็นหย่องค้ำสายให้ตุงขึ้น เวลาบรรเลงใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ จับไม้ดีด เขี่ยสายให้เกิดเสียงต่างๆ
 
ใน[[สมัยกรุงศรีอยุธยา]] มีกล่าวไว้ใน[[กฎมณเฑียรบาล]]ว่า “''ร้องเพลงเรือ เป่า[[ปี่]]เป่า[[ขลุ่ย]] สี[[ซอ]]ดีดจะเข้ กระจับปี่ตีโทนทับ โห่ร้องนี่นั่น''” ต่อมาก็นำมาใช้เป็นเครื่องดีดประกอบการขับไม้ สำหรับบรรเลงใน[[พระราชพิธี]] แต่เนื่องจากกระจับปี่มีเสียงเบา และมีน้ำหนักมาก ผู้ดีดกระจับปี่จะต้องนั่งพับเพียบขวาแล้วเอาตัวกระจับปี่ วางบนหน้าขาข้างขวาของตน เพื่อทานน้ำหนัก มือซ้ายถือคันทวนมือ ขวาจับไม้ดีด เป็นที่ลำบากมาก อาจเป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้ไม่ค่อยมีผู้นิยมเล่นกระจับปี่ ในปัจจุบันจึงหาผู้เล่นได้ยาก
 
กระจับปี่ สันนิษฐานกันว่าน่าจะมาจาก ภาษาชวา คำว่า กัจฉปิ ซึ่งคำว่า กัจฉปิ นั้นมีรากฐานของคำศัพท์ ในบาลีสันสกฤต คำว่า กัจฉปะ ที่แปลว่า เต่า เนื่องจากลักษณะของ กระจับปี่นั้น จะมีกะโหลกเป็นรูปกลมรีแบนทั้งหน้าหลัง ซึ่งมองแล้วคล้ายกับกระดองของเต่า
[[เครื่องดนตรีไทย]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 15 ⟶ 14:
[[หมวดหมู่:เครื่องสาย]]
{{โครงดนตรี}}
รายชื่อเครื่องดนตรีไทยแบ่งตามการบรรเลง
[[เครื่องดีด]]
[[กระจับปี่]]
[[จะเข้]]
[[ซึง
พิณเพียะ
พิณน้ำเต้า
ไหซอง
เครื่องสีแก้ไข
ซอ ได้แก่ ซออู้, ซอด้วง, ซอสามสาย, ซอสามสายหลีบ, ซอกันตรึม
สะล้อ
รือบับ
เครื่องเป่าแก้ไข
ขลุ่ย ได้แก่ ขลุ่ยหลิบ ขลุ่ยละออ ขลุ่ยอู้ ขลุ่ยกรวด ขลุ่ยโก้
แคน
ปี่ ได้แก่ ปี่นอก ปี่กลาง ปี่ใน ปี่ไฉน ปี่ชวา ปี่มอญ ปี่อ้อ ปี่จุม ปี่มอญ ปี่ซอ
โหวด
เครื่องตีแก้ไข
กลองแขก
กลองสะบัดชัย
กลองสองหน้า
กลองทัด
กลองมลายู
กลองยาว
กลองมโหระทึก
กลองมังคละ
กรับ ได้แก่ กรับเสภา, กรับพวง ฯลฯ
ขิม
ฆ้องมอญ
ฆ้องวงเล็ก
ฆ้องวงใหญ่
ฉาบ ได้แก่ ฉาบเล็ก, ฉาบใหญ่ ฯลฯ
ฉิ่ง
ตะโพน ได้แก่ ตะโพนไทย, ตะโพนมอญ
โทน
โปงลาง
ระนาดทุ้ม
ระนาดทุ้มเหล็ก
ระนาดเอก
ระนาดเอกเหล็ก
ระนาดแก้ว
รำมะนา
อังกะลุง
เปิงมาง
โหม่ง
บัณเฑาะว์]]