ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สันนิบาตชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
| conventional_long_name = สันนิบาตชาติ
| native_name = League of Nations {{en icon}}<br />Société des Nations {{fr icon}}<br />Sociedad de Naciones {{es icon}}
| linking_name = League of Nations
| image_coat = Symbol of the League of Nations.svg
| symbol_type = สัญลักษณ์กึ่งทางการระหว่าง ค.ศ. 1939-1941
| image_map = League of Nations Anachronous Map.PNG
| map_caption = แผนที่ประเทศสมาชิกสันนิบาต
| symbol_width = 100px
| symbol_type = เครื่องหมาย
| admin_center_type = สำนักงานใหญ่
| admin_center = [[เจนีวา]] สวิตเซอร์แลนด์<!-- // รอคนมาแก้ไขแม่แบบ
| s1 = United Nations
| flag_s1 = Flag of the United Nations (1945-1947).svg-->
| languages_type = ภาษาทางการ
| languages = อังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน
| membership_type = รัฐสมาชิก
| government_type = องค์การระหว่างประเทศ
| leader_title1 = เลขาธิการคนที่ 1
| leader_name1 = Sir James Eric Drummond
| leader_title2 = เลขาธิการคนที่ 2
| leader_name2 = Joseph Aveno
| leader_title3 = เลขาธิการคนที่ 3
| leader_name3 = Seán Lester
| sovereignty_type = การก่อตั้ง
| established_event1 = [[สนธิสัญญาแวร์ซาย]]
| established_date1 = 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 (พ.ศ. 2462)
| established_event2 = ประชุมครั้งแรก
| established_date2 = 16 มกราคม ค.ศ. 1920 (พ.ศ. 2463)
| established_event3 = สิ้นสภาพ
| established_date3 = 20 เมษายน ค.ศ. 1947 (พ.ศ. 2490)
| footnote1 =
}}
{{ใช้ปีคศ|width=250px}}
บรรทัด 39:
[[ไฟล์:Origin of the League of Nations.png|thumb|right|250px|การ์ดที่ระลึกในโอกาสก่อตั้งสันนิบาต คนในรูปคือประธานาธิบดี[[วูดโรว์ วิลสัน]] ผู้เสนอให้ก่อตั้งองค์การนี้ขึ้น]]
 
แนวความคิดของประชาคมนานาชาติที่อยู่ร่วมกันอย่างสันติมีมานานแล้ว ในปี ค.ศ. 1795 อิมมานูเอล คานต์ เสนอให้มีการก่อตั้งองค์การที่จะไกล่เกลี่ยของพิพาทและรักษาสันติภาพระหว่างประเทศในงานเขียนของเขา ''Perpetual Peace: A Philosophical Sketch''<ref> {{cite web|url=http://www.mtholyoke.edu/acad/intrel/kant/kant1.htm|last=คานต์|first=อิมมานูเอล |publisher=Mount Holyoke College| title=Perpetual Peace: A Philosophical Sketch|accessdate=26 พฤศจิกายน 2011}} {{en icon}}</ref> โดยเขาย้ำว่าแนวทางนี้ไม่ใช่การให้มีรัฐบาลปกครองโลก แต่ให้รัฐบาลของแต่ละประเทศเคารพพลเมืองของตน และต้อนรับชาวต่างประเทศในลักษณะที่เป็นมนุษย์ด้วยกัน สันติภาพระหว่างประเทศก็จะเกิดขึ้น<ref> {{cite web|url=http://www.constitution.org/kant/perpeace.htm|title=Perpetual Peace|author=คานต์, อิมมานูแอล|year=1795|publisher=สมาคมรัฐธรรมนูญ|accessdate=26 พฤศจิกายน 2011}} {{en icon}}</ref>
 
ต่อมาเมื่อเกิด[[สงครามนโปเลียน]]ในศตวรรษที่ 19 ก็มีความพยายามร่วมมือกันเพื่อให้ยุโรปมีความมั่นคงยิ่งขึ้น รวมทั้งได้เกิด[[อนุสัญญาเจนีวา]]ขึ้นเพื่อมนุษยธรรมระหว่างสงคราม และ[[อนุสัญญาเฮก (1899 และ 1907)|อนุสัญญาเฮก]]ซึ่งกำหนดกฎเกณฑ์ของสงครามและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างประเทศ และในปี ค.ศ. 1889 นักรณรงค์สันติภาพได้ก่อตั้ง[[สมัชชาสหภาพรัฐสภา]] (Inter-Parliamentary Union: IPU) ขึ้นเพื่อสนับสนุนการเจรจาและการทูตในการแก้ไขข้อพิพาท<ref> {{cite web | title = ก่อนจะเป็น "สันนิบาตชาติ" | publisher = สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ ณ กรุงเจนีวา | url =http://www.unog.ch/80256EE60057D930/ (httpPages) /B5B92952225993B0C1256F2D00393560?OpenDocument | accessdate = 26 พฤศจิกายน 2011}} {{en icon}}</ref>
 
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 มีกลุ่มอำนาจใหญ่สองกลุ่มในยุโรปที่ขัดแย้งกัน และเป็นสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งมีทหารเสียชีวิต 8.5 ล้านนาย ผู้บาดเจ็บ 21 ล้านคน และพลเรือนเสียชีวิต 10 ล้านคน สงครามนี้ได้ส่งผลกระทบในทุกด้านของชีวิต และทำให้เกิดกระแสต่อต้านสงครามทั่วโลก จนเกิดวลีเรียกสงครามโลกครั้งที่หนึ่งว่า "สงครามเพื่อที่จะหยุดสงครามทั้งหมด" และมีการสืบสวนถึงสาเหตุอย่างถี่ถ้วน ซึ่งพบว่าเกิดจาก การแข่งขันทางอาวุธ พันธมิตร การทูตลับ และเสรีภาพในการเข้าร่วมสงครามของรัฐต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ส่วนตน จึงมีการเสนอให้มีิมีองค์การระหว่างประเทศที่จะทำหน้าที่หยุดสงครามในอนาคตด้วย[[การลดอาวุธ]] การทูตอย่างเปิดเผย การตัดสินข้อพิพาท ความร่วมมือระหว่างชาติ การควบคุมสิทธิในการเข้าร่วมสงคราม และการลงโทษประเทศที่ทำผิดกฎ
 
บุคคลสำคัญที่มีส่วนทำให้สันนิบาตชาติเป็นความจริงขึ้นมาคือประธานาธิบดี[[วูดโรว์ วิลสัน]]แห่งสหรัฐอเมริกา การตั้งสันนิบาตชาติเป็นหนึ่งใน[[หลักการสิบสี่ข้อ]]ของวิลสัน ซึ่งข้อ 14 ระบุว่า ''การรวมตัวกันของประชาชาติควรจะถูกก่อตั้งขึ้นภายใต้พันธะที่แน่นอนเพื่อจุดประสงค์ที่สามารถให้ความช่วยเหลือกันได้กับทุกฝ่าย และให้การรับรองแก่รัฐที่มีขนาดเล็กกว่าเทียบเท่ากับตนเอง โดยการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติขึ้นมา''<ref> {{cite web |first=วูดโรว์|last=วิลสัน|authorlink=วูดโรว์ วิลสัน| date = 8 มกราคม 1918 |title = หลักการสิบสี่ข้อของประธานาธิบดีวิลสัน | publisher =The Avalon Project | url =http://www.yale.edu/lawweb/avalon/wilson14.htm | accessdate = 26 พฤศจิกายน 2011}} {{en icon}}</ref> โดยในระหว่าง[[การประชุมสันติภาพที่ปารีส (1919)|การประชุมสันติภาพที่ปารีส]] ซึ่งมีสามประเทศใหญ่ผู้ชนะสงครามเข้าร่วมคือ อเมริกา ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร แนวความคิดการก่อตั้งสันนิบาตชาติของวิลสันได้รับการยอมรับ และกลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[สนธิสัญญาแวร์ซายส์]]
 
[[กติกาสันนิบาตชาติ]]ถูกร่างขึ้นโดยคณะกรรมการพิเศษ โดยมี 44 ประเทศที่เซ็นยอมรับกติกานี้ซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย อย่างไรก็ดีแม้วิลสันจะประสบผลสำเร็จในการผลักดันให้สันนิบาตชาติเป็นจริงขึ้นมา ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปีเดียวกัน แต่รัฐสภาอเมริกากลับมีมติไม่ยอมให้ประเทศอเมริกาเข้าร่วมสันนิบาต เนื่องจากเกรงว่าจะมีข้อผูกมัดตามมา ซึ่งจะเป็นสาเหตุที่ทำให้สันนิบาตล่มในเวลาต่อมา
บรรทัด 52:
 
== ตราสัญลักษณ์ ==
มีตราสัญลักษณ์กึ่งทางการเกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นดาวห้าเหลี่ยมสองดวงในรูปห้าเหลี่ยมสีน้ำเงิน สื่อความหมายถึงทวีปในโลก 5 ทวีป และเผ่าพันธุ์ 5 เผ่า (ขาว เหลือง น้ำตาล ดำ แดง) ตามที่เชื่อกันในสมัยนั้น ด้านบนเป็นชื่อภาษาอังกฤษ (''League of Nations'') ส่วนด้านล่างเป็นภาษาฝรั่งเศส ("''Société des Nations''") <ref> {{cite web|publisher=สหประชาชาติ|accessdate=26 พฤศจิกายน 2011|url=http://visit.un.org/wcm/content/site/visitors/lang/en/home/about_us/un_offices|title=ภาษาและตราสัญลักษณ์}} {{en icon}}</ref>
 
== โครงสร้าง ==
บรรทัด 68:
* คณะกรรมการทาส ทำหน้าที่ขจัดระบอบทาสและการบังคับขายประเวณี โดยเฉพาะในประเทศอาณานิคม
* คณะกรรมการเพื่อผู้ลี้ภัย มีผลงานโดดเด่นคือการนำเชลยศึกสงคราม 427,000 คน จากประเทศรัสเซียส่งกลับประเทศดั้งเดิม 26 ประเทศ
* คณะกรรมการเศรษฐกิจและการเงิน
* คณะกรรมการดูแลดินแดนใต้อาณัติสันนิบาต (ดูที่[[#ดินแดนใต้อาณัติ|ดินแดนใต้อาณัติ]])
* คณะกรรมการศึกษาสถานะทางกฎหมายของสตรี ต่อมากลายเป็น[[คณะกรรมการเพื่อสถานะของสตรี]] ในสหประชาชาติ
บรรทัด 83:
เมื่อเริ่มต้นมีรัฐสมาชิกร่วมก่อตั้งสันนิบาต 42 ประเทศ แต่มีเพียง 23 ประเทศเท่านั้นที่เป็นสมาชิกจนกระทั่งยุบสันนิบาตในปี ค.ศ. 1946 ซึ่งประเทศไทยรวมอยู่ในประเทศเหล่านี้ด้วย
 
สันนิบาตมีจำนวนรัฐสมาชิกมากที่สุดคือ 58 ประเทศในช่วงปี ค.ศ. 1934-1935<ref> {{cite web|url=http://www.indiana.edu/~league/nationalmember.htm|publisher=มหาวิทยาลัยแห่งรัฐอินเดียนา|accessdate=26 พฤศจิกายน 2011|title=รัฐสมาชิกของสันนิบาตชาติ}} {{en icon}}</ref>
 
== ดินแดนใต้อาณัติ ==
{{บทความหลัก|ดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ}}
<!-- หมายเหตุ: ดินแดนใต้อาณัติ คือ mandate ในขณะที่ดินแดนในอารักขา คือ protectorate; เช็คได้ที่ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิต-->
บรรทัด 95:
* C คือเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ที่ "สมควรที่สุดที่จะอยู่ใต้อาณัติ... เพื่อที่ชนพื้นเมืองจะได้รับการปกป้องดังที่กล่าวมาแล้ว[สำหรับ B]
 
ส่วนประเทศมหาอำนาจขณะนั้น 7 ประเทศได้ '''รับมอบอาณัติ''' (mandatory) คือมีอำนาจปกครองดินแดนใต้อาณัติของสันนิบาต ได้แก่ สหราชอาณาจักร, สหพันธ์แอฟริกาใต้, ฝรั่งเศส, เบลเยียม, นิวซีแลนด์, ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น
 
ดินแดนใต้อาณัติทั้งหมดไม่ได้รับเอกราชจวบจนสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด ยกเว้นประเทศอิรักประเทศเดียวที่ได้รับเอกราชและเข้าร่วมสันนิบาตในปี ค.ศ. 1932 หลังจากสันนิบาตถูกยุบดินแดนใต้อาณัติเหล่านี้ถูกโอนไปให้สหประชาชาติดูแล เรียกว่า ดินแดนมอบหมายของสหประชาชาติ (United Nations Trust Territories) และเป็นเอกราชทั้งหมดในปี ค.ศ. 1990