ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
WapBot (คุย | ส่วนร่วม)
แก้แม่แบบ {{dead link}}/{{ลิงก์เสีย}}
บรรทัด 316:
บทความหลัก: เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิชชั่นธรรมชาติ
 
แม้ว่าเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิชชั่นมักจะถุกคิดว่าเป็นผลิตภัณฑ์ของเทคโนโลยีที่ทันสมัยแต่เพียงอย่างเดียว, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิชชั่นเครื่องแรกในความเป็นจริงมันเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิชชั่นธรรมชาติสามารถเกิดขึ้นได้ในบางกรณีที่เลียนแบบเงื่อนไขในเครื่องปฏิกรณ์ที่มนุษย์สร้าง<ref>[http://video.google.com/videoplay?docid=-2334857802602777622 Video of physics lecture] – at Google Video; a natural nuclear reactor is mentioned at 42:40 mins into the video</ref>. สิบห้าเครื่องปฏิกรณ์ธรรมชาติถูกค้นพบนับจนถึงวันนี้ในสามแหล่งสะสมแร่ที่อยู่ห่างกันที่เหมือง Oklo ในกาบอง, แอฟริกาตะวันตก. ค้นพบครั้งแรกในปี 1972 โดยนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ฟรานซิส เพอร์ริน, พวกมันจะถูกเรียกรวมกันว่าเครื่องปฏิกรณ์ธรรมชาติฟอสซิล Oklo. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชั่นยั่งยืนด้วยตนเองได้เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์เหล่านี้ประมาณ 1.5 พันล้านปีที่ผ่านมา, และทำงานไปได้ไม่กี่แสนปี, เฉลี่ย 100 กิโลวัตต์ของกำลังไฟฟ้าในช่วงเวลานั้น<ref>Meshik, Alex P. "The Workings of an Ancient Nuclear Reactor." ''Scientific American.'' November 2005. Pg. 82.</ref>. แนวคิดของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ธรรมชาติถูกสร้างเป็นทฤษฎีในช่วงต้นของปี 1956 โดยพอล คูโรดะที่มหาวิทยาลัยอาร์คันซอ<ref name="OCRWM">{{cite web |title=Oklo: Natural Nuclear Reactors |work=Office of Civilian Radioactive Waste Management |url= http://www.ocrwm.doe.gov/factsheets/doeymp0010.shtml |accessdate=28 June 2006}} {{Dead linkลิงก์เสีย|date=Aprilเมษายน 20122555|bot=H3llBot}}</ref><ref name="ANS1">{{cite web |title=Oklo's Natural Fission Reactors |work=[[American Nuclear Society]] |url= http://www.ans.org/pi/np/oklo |accessdate=28 June 2006}}</ref>.
 
เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวไม่สามารถสร้างได้บนโลกอีกต่อไปแล้ว: การสลายตัวของกัมมันตรังสีในช่วงเวลาอันยิ่งใหญ่นี้ได้ลดสัดส่วนของ U-235 ในยูเรเนียมธรรมชาติให้อยู่ต่ำกว่าปริมาณที่จำเป็นในการรักษาปฏิกิริยาลูกโซ่ให้ยั่งยืน.