ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นครรัฐน่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 29:
 
== ประวัติ ==
นครรัฐน่านถูกสถาปนาขึ้นราว พ.ศ. 1825 โดยการนำของพญาภูคา มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองย่าง (ปัจจุบันอยู่ในเขตบ้านเสี้ยว ตำบลยม [[อำเภอท่าวังผา]] [[จังหวัดน่าน]])<ref name="ประวัติ">{{cite web |url= http://www.nan.go.th/webjo/index.php?option=com_content&view=article&id=6&Itemid=27 |title= ประวัติศาสตร์น่าน |author=|date= |work= จังหวัดน่าน |publisher= |accessdate= 29 พฤษภาคม 2558}}</ref> ใน ''พื้นเมืองน่าน'' ได้กล่าวถึงพญาภูคา มีพระโอรสสองพระองค์คือขุนนุ่นและขุนฟอง พญาภูคาจึงให้องค์พี่ไปสร้าง[[หลวงพระบาง|เมืองหลวงพระบาง]]ปกครองชาวลาว<ref group=note>ในตำนานกล่าวถึงฤๅษีสร้างเมืองจันทบุรีให้ขุนนุ่น ซึ่งเมืองจันทบุรีคือ[[เวียงจันทน์|เมืองเวียงจันทน์]] แต่สรัสวดี อ๋องสกุลพิจารณาถึงตำแหน่งที่ตั้งเมืองตามบริบทของตำนานว่าควรเป็นเมืองหลวงพระบาง (อ้างอิง: สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 107)</ref> และองค์น้องไปสร้างเมืองปัวปกครองชาวกาว<ref name="ด้ำ"/>
นครรัฐน่านถูกสถาปนาขึ้นราวกลางพุทธศตวรรษที่ 18<ref name="ประวัติ">[http://www.nan.go.th/webjo/index.php?option=com_content&view=article&id=6&Itemid=27 ประวัติศาสตร์น่าน]</ref> โดย[[พญาผากอง]] เมื่อพญาผากองได้ถึงแก่พิราลัย เจ้าเก้าเถื่อนราชบุตร เจ้าผู้ครองเมืองปัวจึงได้มาปกครองเมืองย่างแทนพระอัยกา และให้ชายาดูแลเมืองปัว ในสมัยเจ้าเก้าเถื่อนพญางำเมืองเจ้าผู้ครอง[[แคว้นพะเยา|นครรัฐพะเยา]] ได้ขยายอำนาจมายังนครรัฐน่าน และเข้าครอบครองบ้านเมืองในเขตนครรัฐน่านบริเวณอำเภอปัว และอำเภอท่าวังผาในปัจจุบัน นครรัฐน่านหลุดพ้นจากอำนาจนครรัฐพะเยา
 
ครั้นขุนฟองพิราลัย เจ้าเก้าเถื่อนราชบุตรจึงครองเมืองปัวสืบมา ส่วนพญาภูคาเองก็มีชนมายุมาก มีพระราชประสงค์ให้พระนัดดามากินเมืองต่อ จึงส่งเสนาอำมาตย์ไปอัญเชิญ ด้วยเจ้าเก้าเถื่อนเกรงพระทัยพระอัยกาจึงเสด็จครองเมืองย่างต่อ โดยให้นางพญาแม่ท้าวคำพินครองเมืองปัวแทน<ref name="ประวัติ"/> ในช่วงเวลาดังกล่าวเมืองปัวกำลังอ่อนแอ [[พญางำเมือง]]เจ้าผู้ครอง[[แคว้นพะเยา|นครรัฐพะเยา]] จึงสบโอกาสยกทัพมาปล้นเมืองปัว หลังจากนั้นก็ให้นางอั้วสิม พระชายา และเจ้าอามป้อม ราชบุตร มากินเมืองปัว<ref name="อั้วสิม">สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 109</ref> ในช่วงเวลาเดียวกับที่พญางำเมืองตีเมืองปัวนั้น นางพญาแม่ท้าวคำพินผู้ทรงพระหน่อได้เสด็จลี้ภัยไปที่บ้านห้วยแร้งแล้วให้กำเนิดโอรสชื่อเจ้าขุนใส เมื่อเจ้าขุนใสเจริญพระชันษาก็ได้เป็นขุนนางรับใช้พญางำเมือง พญางำเมืองก็สถาปนาเป็น "เจ้าขุนใสยศ" ครองเมืองปราด เมื่อเจ้าขุนใสยศมีกำลังพลมากขึ้นก็ทรงยกทัพขึ้นต่อสู้จนสามารถยึดเมืองปัวคืนมาได้<ref name="ประวัติ"/> พร้อมกับได้นางอั้วสิมในพญางำเมืองมาเป็นพระชายาด้วย<ref name="อั้วสิม"/> และสถาปนาพระองค์เองขึ้นเป็น พญาผานอง (หรือ ผากองผู้ปู่) ปกครองเมืองปัวอย่างรัฐอิสระ<ref name="ประวัติ"/>
นครรัฐน่านมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับรัฐหลวงพระบาง (หลัง พ.ศ. 1700) และรัฐสุโขทัยที่มีบรรพบุรุษจากเมืองน่านชื่อ "ปู่ฟ้าฟื้น" ดังปรากฏใน ''จารึกปู่สบถหลาน'' อันเป็นคำสัตย์ว่าสองรัฐจะไม่สู้รบกันเมื่อปี พ.ศ. 1935<ref name="สุจิตต์">{{cite web |url=http://www.sujitwongthes.com/2014/12/siam05122557/|title=พระขรรค์ชัยศรี กับดาบฟ้าฟื้น|author=สุจิตต์ วงษ์เทศ|date=5 ธันวาคม 2557|work=|publisher=Sujitwongthes.com|accessdate=19 ธันวาคม 2557}}</ref>
 
ในรัชกาลพญาผานอง นครรัฐอิสระนี้เริ่มมีเสถียรภาพมีการขยายตัวของเมืองเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังทรงร่วมมือกับ[[พญาคำฟู]]กษัตริย์ล้านนาแคว้น[[แคว้นพะเยา]]ในรัชกาลพญาคำลือ และเริ่มมีปัญหาระหองระแหงกับล้านนาอันเนื่องมาจากการถูกเอารัดเอาเปรียบในกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินที่ปล้นมาจากพะเยา<ref name="อั้วสิม"/>
ในสมัยพญาผานอง นครน่านเป็นนครรัฐอิสระระหว่างปี 1865 - 1894 ในสมัยพญาการเมืองนครรัฐน่านได้เติบโตมากขึ้นและสถาปนาความสัมพันธ์กับ[[อาณาจักรสุโขทัย]] เมื่อพญาการเมืองพิราลัย [[พญาผากอง]]จึงได้ปกครองน่าน ในช่วงนั้นน่านเกิดแห้งแล้ง พญาผากองจึงได้ย้ายมาตั้งเมืองใหม่บริเวณ[[จังหวัดน่าน]]ในปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 1993 [[พระเจ้าติโลกราช]]กษัตริย์ล้านนา ยกทัพมารุกรานเมืองน่านและสามารถยึดเมืองน่านไว้ได้ ทำให้น่านตกเป็นส่วนหนึ่งของล้านนา<ref>[http://www.chiangmai-thailand.net/lanna_city/nan/ratchawong.html ราชวงศ์ที่ครองเมืองน่าน ราชวงศ์ภูคา]</ref>
 
รัชสมัยพญาครานเมือง (หรือ การเมือง หรือ กรานเมือง) ได้ทำการย้ายเมืองหลวงลงมายังภูเพียงแช่แห้ง ด้วยมีความอุดมสมบูรณ์ และสามารถติดต่อค้าขายกับเมืองทางใต้ได้สะดวกกว่าเมืองหลวงเก่า และได้ทรงสร้าง[[พระธาตุแช่แห้ง]] เพื่อดึงดูดความสนใจและสร้างศูนย์รวมจิตใจแก่ทวยราษฎร์<ref name="นครรัฐ"/> หลังได้รับพระธาตุและพระพิมพ์มาจาก[[อาณาจักรสุโขทัย]]<ref name="ประวัติ"/> ที่เป็นรัฐเครือญาติ<ref name="สุจิตต์"/> แต่ความสัมพันธ์อันดีดังกล่าวสร้างความไม่ชอบใจแก่[[อาณาจักรอยุธยา]]นัก ที่ช่วงเวลานั้นอยุธยาพยายามขยายอำนาจสู่สุโขทัย พญาครานเมืองจึงถูกกษัตริย์อยุธยาลอบวางยาพิษจนสิ้นพระชนม์ทันที ก็ยิ่งทวีความร้าวฉาน เมื่อพญาผาคอง (หรือ ผากองผู้หลาน) ส่งทัพไปช่วย[[พระมหาธรรมราชาที่ 2]] แห่งสุโขทัย รบกับ[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] แห่งกรุงศรีอยุธยา<ref name="สลาย"/> แต่ผลก็ทัพแตก และถูกกรุงศรีอยุธยาจับเป็นเชลยอันมาก<ref>ประเสริฐ ณ นคร. ผากอง, พระยา ใน ''ประวัติศาสตร์เบ็ดเตล็ด''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2549, หน้า 254 - 255</ref> และท้าวคำตัน รัชกาลถัดมา ก็ถูกกรุงศรีอยุธยาลอบปลงพระชนม์อีกครั้งโดยใส่ยาพิษในน้ำอาบองค์สรงเกศ<ref name="สลาย"/>
 
นครรัฐน่านประสบปัญหาอีกครั้งเมื่อท้าวเมืองแพร่ยกทัพมาปล้นและครองเมืองน่านครั้งหนึ่ง และอีกครั้งเมื่อช่วงปี พ.ศ. 1942-1943 ซึ่งเจ้าเมืองน่านจึงหนีไปพึ่งเจ้าสุโขทัย และได้รับการช่วยเหลือจนกระทั่งยึดอำนาจคืนสำเร็จทั้งสองครั้ง แต่กระนั้นการเมืองภายในราชวงศ์ภูคาก็ชิงอำนาจกันเสียเอง คืออินทแก่นท้าว ถูกเจ้าแพงผู้น้องยึดอำนาจได้ อินทแก่นท้าวจึงไปขอความช่วยเหลือจากสุโขทัยและยึดอำนาจคืน<ref name="สลาย"/>
 
ปลายพุทธศตวรรษที่ 20 บรรดาแว่นแคว้นและนครรัฐต่าง ๆ ค่อย ๆ ถูกรัฐที่ใหญ่กว่าผนวก อาณาจักรสุโขทัยล่มสลายและรวมเข้ากับกรุงศรีอยุธยาในปี พ.ศ. 1881 แต่นครรัฐน่านที่ห่างไกลยังคงเป็นนครรัฐอิสระขนาดเล็กอยู่อย่างโดดเดี่ยว กอ่นถูกผนวกเข้ากับอาณาจักรล้านนาใน ปี พ.ศ. 1992 ใน ''พื้นเมืองน่าน'' กล่าวว่า[[พระเจ้าติโลกราช]]ทรงยกทัพจากพะเยามาทางเมืองปง เมืองควร เข้าล้อมเมืองน่าน และ ''"ตั้งอม็อกสินาดยิงเข้าทางประตูอุทยาน โห่ร้องเข้าคุ้มเวียง"''<ref name="สลาย"/> อินทแก่นท้าวหนีไปพึ่งพระยาเชลียง พระเจ้าติโลกราชจึงแต่งตั้งท้าวผาแสงกินเมืองสืบมา ครั้นสิ้นท้าวผาแสงก็หาขุนนางมากินเมืองแทน ดังปรากฏ ความว่า ''"...แต่นั้นมาชื่อว่าพระญาบ่มีแลย่อมว่าเจ้าเมืองว่าอั้นมาแล..."''<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 113</ref>
 
== การปกครอง ==