ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
แอนเดอร์สัน (คุย | ส่วนร่วม) ไม่มีความย่อการแก้ไข |
|||
{{กล่องข้อมูล
| name = พรหม
| native_name = ब्रह्मा
| image = Thai 4 Buddies.jpg
| caption = [[ท้าวมหาพรหม]] ที่[[แยกราชประสงค์]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]
| god_of = เทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์
| affiliation =
| adobe =
| weapon =
| mount = [[หงส์]] หรือ [[ห่าน]]
| father =
| mother =
| consort = [[พระสรัสวดี|สรัสวดี]]
| child =
| country =
| religion = [[พราหมณ์-ฮินดู]]
}}
ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง|date=|accessdate=10 June 2014|publisher=บ้านจอมยุทธ์}}</ref>
ด้วยเหตุดังนี้ พระพรหมจึงมีพระนามต่าง ๆ อาทิ "พรหมธาดา" หรือ "ประชาบดี" (ผู้สร้าง), "หงสรถ" หรือ "หงสวาหน" (ผู้มีหงส์เป็นพาหนะ), "จตุรพักตร์" (ผู้มีสี่หน้า), "ปรเมษฐ์" (ผู้ประเสริฐ) เป็นต้น<ref name="สนุก"/> ส่วนใน[[ลิลิตโองการแช่งน้ำ]]เรียกว่า "ขุนหงส์ทองเกล้าสี่"<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''"พลังลาว" ชาวอีสาน มาจากไหน ?''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2549, หน้า 104</ref>
โดยความหมายของคำว่า "พรหม" หมายถึง "ความเจริญ, ความกว้างขวาง, ความขยายตัว หรือความเบิกบาน" ดังนั้นตามคติและวัตรปฏิบัติต่าง ๆ ทั้งในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพุทธศาสนาจึงมีคำว่า พรหม ประกอบคำศัพท์ เช่น "[[พรหมจรรย์]]", "[[พรหมบุตร]]" หรือ "[[พรหมวิหาร ๔|พรหมวิหาร]]" เป็นต้น<ref name="สนุก">[http://guru.sanook.com/search/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%A1/ พรหม จากสนุกดอตคอม]</ref>
|