ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำนาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
แปลใหม่ ใส่อ้างอิง
บรรทัด 1:
'''คำนาม''' เป็น[[คำ]]ที่ทำหน้าที่เป็นชื่อของสิ่งของใด ๆ หรือชุดของสิ่งของใด ๆ เช่น สิ่งมีชีวิต วัตถุ สถานที่ การกระทำ คุณสมบัติ สถานะ หรือแนวคิด<ref>{{cite web|title=Noun|year=2014|publisher=Merriam-Webster, Incorporated|work=Merriam-Webster Dictionary (online)|url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/noun}}</ref> ในทาง[[ภาษาศาสตร์]] คำนามเป็นหนึ่งใน[[วจีวิภาค]]แบบเปิดที่สมาชิกสามารถเป็นคำหลักใน[[ประธาน (ไวยากรณ์)|ประธาน]]ของ[[อนุประโยค]] [[กรรม (ไวยากรณ์)|กรรม]]ของกริยา หรือกรรมของ[[บุพบท]]
ไม้ไผ่
 
หมวดหมู่คำศัพท์ (วจีวิภาค) ถูกนิยามในทางที่ว่าสมาชิกจะอยู่รวมกับนิพจน์ชนิดอื่น ๆ กฎทาง[[วากยสัมพันธ์]]ของคำนามจะแตกต่างกันระหว่างภาษาต่าง ๆ ใน[[ภาษาอังกฤษ]] คำนามคือคำที่สามารถมาพร้อมกับคำนำหน้านาม (article) และ[[คำคุณศัพท์]]กำหนดลักษณะ (attributive adjective) และสามารถทำหน้าที่เป็นคำหลัก (head) ของ[[นามวลี]]<ref>Loos, Eugene E., et al. 2003. [http://www.sil.org/linguistics/GlossaryOfLinguisticTerms/WhatIsANoun.htm Glossary of linguistic terms: What is a noun?]</ref>
== ชนิดของคำนาม ==
คำนามในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ
 
== อ้างอิง ==
# สามัญนาม (คำนามไม่ชี้เฉพาะ) หรือคำนามทั่วไป คือ คำนามสามัญที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือเป็นคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง สามานยนามบางคำมีคำย่อยเพื่อบอกชนิดย่อยๆของสิ่งต่างๆ เรียกว่า ''สามานยนามย่อย''
{{รายการอ้างอิง}}
# วิสามานยนาม (คำนามชี้เฉพาะ) หรือคำนามชี้เฉพาะ คือ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สถานที่ หรือเป็นคำเรียกบุคคล สถานที่เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนไหน สิ่งใด
# ลักษณนาม (คำนามแสดงลักษณะ) คือ คำนามที่ทำหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนขึ้น
# สมุหนาม (คำนามรวมหมู่) คือ คำนามบอกหมวดหมู่ของสามานยนาม และวิสามานยนามที่รวมกันมากๆ
# อาการนาม (คำนามแสดงอาการ) คือ คำนามที่บอกกิริยาอาการหรือความปรากฏเป็นต่าง ๆ ซึ่งมาจากคำกริยา หรือคำวิเศษณ์ จะมีคำว่า "การ" และ "ความ" นำหน้า
 
ข้อสังเกต คำว่า “การ” และ “ความ” ถ้านำหน้าคำชนิดอื่นที่ไม่ใช่คำกริยา หรือคำวิเศษณ์ จะไม่นับว่าเป็นอาการนาม
 
== หน้าที่ของคำนาม ==
{|
|
* ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค
* ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค
* ทำหน้าที่เป็นส่วนขยายคำนามอื่น
|
* ทำหน้าที่ขยายคำกริยา
* ทำหน้าที่ตามหลังบุพบท เพื่อทำหน้าที่บอกสถานที่ หรือขยายกริยาให้มีเนื้อความบอกสถานที่ชัดเจนขึ้น
* ทำหน้าที่เป็นคำเรียกขาน
|}
 
[[หมวดหมู่:วจีวิภาค]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/คำนาม"