ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jungide (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5996664 สร้างโดย 124.122.155.20 (พูดคุย)
บรรทัด 31:
| gauge = [[รางมาตรฐาน]] (1.435 เมตร)
| el = 25 kV 50/60 Hz [[ระบบจ่ายไฟเหนือหัว|จ่ายไฟเหนือหัว]]
| speed = ~250180 กิโลเมตร/ชั่วโมง
| elevation =
| map =
บรรทัด 56:
มกราคม พ.ศ. 2557 ศาลรัฐธรรมนูญ ได้ไต่สวนคำร้องพ.ร.บ. 2 ล้านล้านบาทไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งระหว่างการไต่สวน ตุลาการบางคนได้แสดงทรรศนะต่อต้านโครงการนี้ อาทิ ''"ไม่คำนึงถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง", "รถไฟเร็วสูงยังไม่จำเป็นกับไทย"'' หรือ ''"ให้ถนนลูกรังหมดก่อน"'' ซึ่งทำให้ศาลถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก ในประเด็นที่ว่าศาลไต่สวนนอกเหนืออำนาจหน้าที่ เพราะควรไต่สวนเฉพาะประเด็นที่ขัดกฎหมาย ท้ายที่สุด ศาลรัฐธรรมนูญได้ตีตกพระราชบัญญัติฉบับนี้ ในวันที่ 12 มีนาคม 2557
 
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ทั้งนี้การศึกษาและการดำเนินการต่างๆที่ดำเนินอยู่ ให้ดำเนินต่อไป อย่างไรก็ตาม จากการที่รัฐบาลทหารมุ่งเน้นสร้างเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับรัฐบาลจีน ทำให้รัฐบาลทหารได้หยิบยกโครงการนี้ขึ้นมาพิจารณาอีกครั้ง โดยหลีกเลี่ยงที่จะใช้คำว่ารถไฟความเร็วสูง และหันไปเรียกว่า "รถไฟทางคู่รางมาตรฐาน" แทน โดยมุ่งเน้นในการเชื่อมต่อกับจีนในสายอีสาน ก่อสร้างโดยใช้เงินกู้จากจีนเป็นหลัก อย่างไรก้ตาม โครงการต้องมาสะดุดอีกครั้ง เมื่อจีนกำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูงเกินไปและจีนขอเดินรถเอง<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1423178874 ไทยเหวอต้องถอย! สร้างรถไฟทางคู่ชะงัก จีนให้กู้รีดดอกเบี้ยสูง แถมขอสร้าง-เดินรถเองอีก] ''[[มติชน]]''. 6 กุมภาพันธ์ 2558 </ref>
 
เมษายน พ.ศ. 2558 ทำให้รัฐบาลต้องหันไปพิจารณาแหล่งทุนจากแหล่งอื่นๆ อาทิ [[ไจก้า]] ที่เสนออัตราดอกเบี้ยถูกกว่า และยังทาบทามนาย[[ธนินท์ เจียรวนนท์]] โดย[[เครือเจริญโภคภัณฑ์]] มาร่วมลงทุน<ref>[http://www.thairath.co.th/content/494830 "ซีพี" สนใจสร้างไฮสปีดเทรน ควงจีน-ฮ่องกงโชว์ความพร้อม ] ''[[มติชน]]''. 24 เมษายน. 2558</ref>
บรรทัด 68:
== สายตะวันออก (กรุงเทพ - ระยอง)==
* '''ระหว่าง''': [[สถานีกลางบางซื่อ]] — [[สถานีรถไฟมักกะสัน]] — [[สถานีรถไฟชุมทางคลองสิบเก้า]]
* '''ระยะทาง''': ประมาณ 190193.5 กิโลเมตร (ใช้โครงสร้างร่วมกับ[[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] 27.5 กิโลเมตร ช่วง บางซื่อ-สุวรรณภูมิ)
* '''มูลค่าการลงทุนรวม''': ราว 152,000 ล้านบาท <ref name = พรบ./>
* '''คาดว่าจะแล้วเสร็จ''': ภายใน พ.ศ. 2563
บรรทัด 105:
|}
 
=== ช่วง แก่งคอย - มาบตาพุด ===
* '''ระยะทาง''': 246.5 กิโลเมตร
* '''มูลค่าการลงทุนรวม''': ราว 39259,570000 ล้านบาท
* '''คาดว่าจะแล้วเสร็จ''': ภายใน พ.ศ. 2562
 
== สายตะวันออกเฉียงเหนือ - ตะวันออก (กรุงเทพ - หนองคาย - มาบตาพุด)==
*'''ระหว่าง''': ''[[สถานีกลางบางซื่อ]]'' → [[สถานีรถไฟนครราชสีมาหนองคาย]] — [[สถานีรถไฟหนองคายมาบตาพุด]]
*'''ระยะทาง''': 615873 กิโลเมตร (ใช้โครงสร้างร่วมกับ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] 36 กิโลเมตร ช่วง บางซื่อ - รังสิต
* '''มูลค่าการลงทุนรวม''': ราว 392,570 ล้านบาท <ref name = พรบ./>
* '''คาดว่าจะแล้วเสร็จ''': ภายใน พ.ศ. 2561
 
=== ช่วง แก่งคอย - กรุงเทพ ===
* '''ระยะทาง''': 133 กิโลเมตร
* '''มูลค่าการลงทุน''': ราว 170,450 ล้านบาท
* '''คาดว่าจะแล้วเสร็จ''': ภายใน พ.ศ. 2562
 
 
=== ช่วง แก่งคอย - นครราชสีมา ===
* '''ระยะทาง''': 138.5 กิโลเมตร
* '''มูลค่าการลงทุน''': ราว 170,450 ล้านบาท
* '''คาดว่าจะแล้วเสร็จ''': ภายใน พ.ศ. 2562
 
=== สายตะวันออกเฉียงเหนือช่วง - ตะวันออก (กรุงเทพนครราชสีมา - หนองคาย) ===
* '''ระยะทาง''': 355 กิโลเมตร
*'''ระหว่าง''': ''[[สถานีกลางบางซื่อ]]'' → [[สถานีรถไฟนครราชสีมา]] — [[สถานีรถไฟหนองคาย]]
* '''มูลค่าการลงทุน''': ราว 108,855 ล้านบาท
*'''ระยะทาง''': 615 กิโลเมตร (ใช้โครงสร้างร่วมกับ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] 36 กิโลเมตร ช่วง บางซื่อ - รังสิต
* '''มูลค่าการลงทุนรวม''': ราว 392,570 ล้านบาท
* '''คาดว่าจะแล้วเสร็จ''': ภายใน พ.ศ. 2562
 
เส้น 118 ⟶ 138:
* '''คาดว่าจะแล้วเสร็จ''': ''แผนลงทุนในอนาคต''
 
=== ช่วง (กรุงเทพหาดใหญ่ - หัวหินปาดังเบซาร์) ===
* '''ระยะทาง''': 206225 กิโลเมตร
* '''มูลค่าการลงทุน''': ประมาณ 90,00048 ล้านบาท
* '''คาดว่าจะแล้วเสร็จ''': ''แผนลงทุนในอนาคต''