ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเร่งปฏิกิริยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phornpan Yangdaeng (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Phornpan Yangdaeng (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
{{สารบัญขวา}}
== ประวัติความเป็นมา ==
ในปี ค.ศ. 1835 เบอร์ซีเลียส (Berzelius) เสนอคำว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาขึ้นมา โดยให้ความหมายของตัวเร่งปฏิกิริยาว่าเป็นสารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาที่ไม่เกิดขึ้นแล้วทำให้ปฏิกิริยานั้นเกิดขึ้นได้ ต่อมาออสวาลต์มาสวาลต์เห็นว่าตัวเร่งปฏิกิริยามีบทบาทต่ออัตราเร็วของปฏิกิริยา จึงเสนอนิยามของตัวเร่งปฏิกิริยาใหม่ว่าเป็นสารที่เปลี่ยนอัตราเร็วของปฏิกิริยาโดยตัวมันเองไม่เปลี่ยนแปลง และจะได้กลับคืนเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุด นอกจากนี้เขายังเสนอว่าตัวเร่งปฏิกิริยาเปลี่ยนอัตราเร็วของปฏิกิริยาโดยไม่มีผลกระทบกระเทือนต่อตำแหน่งของสมดุล เพราะตัวเร่งปฏิกิริยาจะเร่งปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับด้วยอัตรอัตราเร็วเท่ากัน เช่น Ni และ Pt เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการขจัดไฮโดรเจน (dehydrogenation) ที่ดี<ref>www.technology.matthey.com/pdf/pmr-v19-i2-064-069.pdf</ref>
== ชนิด ==
=== ตัวเร่งปฏิกิริยาเอกพันธุ์ ===
บรรทัด 13:
การที่[[เอนไซม์]]สามารถเร่งปฏิกิริยาให้เกิดได้เร็วขึ้นเนื่องจาก เอนไซม์จะไปลดระดับพลังงานที่ใช้ในการกระตุ้นให้สารอยู่ในสภาพเปลี่ยน ทาให้สารที่ทาปฏิกิริยาขึ้นไปอยู่ในสภาพเปลี่ยนได้ง่ายขึ้น โอกาสที่จะได้ผลิตผลของปฏิกิริยาจึงมีมากกว่าปฏิกิริยาที่ไม่มีตัวเร่ง แต่พลังงานของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะไม่เปลี่ยนแปลง<ref>www.ipesp.ac.th/learning/biocheme/html/bt7.pdf</ref>
== ประโยชน์ ==
ตัวเร่งปฏิกิริยามีประโยชน์มากทั้งในชีวิตประจำวันและในกระบวนการอุตสาหกรรม เช่น [[การย่อยอาหาร]]ในร่างกายใช้เอนไซม์หลายชนิดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา การผลิต[[แอมโมเนีย]]เหล็กเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ในกระบวนการเติม[[ไฮโดรเจน]]แก่สารอินทรีย์ใช้นิกเกิลเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และในกระบวนการแตกสลายไฮโดรคาร์บอนในการกลั่นน้ำมันใช้[[ซิลิคอนไดออกไซด์]]และ[[อะลูมิเนียมออกไซด์]]เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเพื่อช่วยให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความปลอดภัย ความยากง่ายในการแยกตัวเร่งปฏิกิริยาออกจากผลิตภัณฑ์ และราคาของตัวเร่งปฏิกิริยา
<ref>http://share.psu.ac.th/blog/easysci/3705</ref>