ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเร่งปฏิกิริยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Phornpan Yangdaeng (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
การเร่งปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นและตัวเร่งมีวัฏภาคต่างกัน เรียกว่า การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ (heterogeneous catalysis) ปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ส่วนใหญ่นิยมใช้ตัวเร่งที่เป็นของแข็งในการเร่งปฏิกิริยาที่มีสารตั้งต้นที่อยู่ในวัฏภาคแก๊สหรือของเหลว ซึ่งจะเกิดปฏิกิริยากันที่ผิวของตัว
ปฏิกิริยาที่สำคัญ ๆ ในอุตสาหกรรมผลิตสารเคมีจะใช้การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ เช่น การสังเคราะห์แอมโมเนีย การผลิตกรดไนตริก และการผลิตตัวเร่งกำจัดไอเสีย เป็นต้น<ref>http://www.il.mahidol.ac.th/</ref>
== ตัวเร่งปฏิกิริยาเอนไซม์ ==
'''ลักษณะการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์'''
ในการเกิดปฏิกิริยาใด ๆ ก็ตาม ต้องอาศัยพลังงานจานวนหนึ่งเพื่อกระตุ้นให้สารเข้าสู่สภาพเปลี่ยน (Transition state) พลังงานที่เพิ่มเข้าไปนี้เรียกว่า พลังงานกระตุ้น (Activation energy) ซึ่งปฏิกิริยาเคมีทุกชนิดจะต้องผ่านสภาพเปลี่ยนนี้ก่อนที่จะเปลี่ยนไปเป็นผลิตผลของปฏิกิริยา
การที่เอนไซม์สามารถเร่งปฏิกิริยาให้เกิดได้เร็วขึ้นเนื่องจาก เอนไซม์จะไปลดระดับพลังงานที่ใช้ในการกระตุ้นให้สารอยู่ในสภาพเปลี่ยน ทาให้สารที่ทาปฏิกิริยาขึ้นไปอยู่ในสภาพเปลี่ยนได้ง่ายขึ้น โอกาสที่จะได้ผลิตผลของปฏิกิริยาจึงมีมากกว่าปฏิกิริยาที่ไม่มีตัวเร่ง แต่พลังงานของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะไม่เปลี่ยนแปลง<ref>www.ipesp.ac.th/learning/biocheme/html/bt7.pdf</ref>
 
== ผลของตัวเร่งต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา ==
1.ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นสารที่ช่วยเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยา โดยไม่สูญหายไปในระหว่างการเกิดปฏิกิริยา และจะได้กลับคืนมาเท่าเดิมเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลง <ref>http://www.sci.nu.ac.th/</ref>