ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเร่งปฏิกิริยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
 
'''การเร่งปฏิกิริยา''' ({{lang-en|Catalysis}}) คือ การทำให้[[ปฏิกิริยาเคมี|ปฏิกิริยา]][[ความเร็วในการเกิดปฏิกิริยา|เกิดเร็วขึ้น]] โดยการใส่วัตถุที่ทำให้ปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงความเร็วเรียกว่า '''ตัวเร่ง'''<ref name="IUPACc">http://goldbook.iupac.org/C00876.html</ref> ซึ่งการเร่งปฏิกิรยาจะไม่มีผลต่อ[[ผลิตภัณฑ์]]เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาเช่น การใส่[[ยีสต์]]ในการหมัก[[เหล้า]]เพื่อเร่งปฏิกิริยา มีทั้งตัวเร่งปฏิกิริยาทางเคมี เช่น [[โลหะ]] และตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เช่น [[เอนไซม์]]
{{สารบัญขวา}}
เส้น 4 ⟶ 5:
=== ตัวเร่งปฏิกิริยาเอกพันธุ์ ===
ตัวเร่งปฏิกิริยาเอกพันธุ์เป็นตัวเร่งที่มีสถานะเดียวกันกับ[[ตัวทำปฏิกิริยา]] แต่กลไกในการเร่งแตกต่างกันกับ[[ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์]] (Heterogeneous catalyst) โดยปกติตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีเนื้อเดียวกัน จะเกิดการละลายในตัวทำละลายที่เหมาะสม ตัวอย่างหนึ่งของตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีเนื้อสารเดียวกันกับตัวทำละลายคือ ไอออน[[ไฮโดรเจน]] (H<sup>+</sup>) ในเอสเทอร์ของกรดคาร์โบซีลิก เช่นการทำปฏิกิรยาที่ทำให้เกิด[[เมทิลอะซีเตต]] จาก[[กรดแอซีติก]]และ[[เมทานอล]]<ref>Arno Behr "Organometallic Compounds and Homogeneous Catalysis" Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry, 2002, Wiley-VCH, Weinheim. {{DOI|10.1002/14356007.a18_215}}. Article Online Posting Date: June 15, 2000</ref>
=== ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ ===
 
การเร่งปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นและตัวเร่งมีวัฏภาคต่างกัน เรียกว่า การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ (heterogeneous catalysis) ปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ส่วนใหญ่นิยมใช้ตัวเร่งที่เป็นของแข็งในการเร่งปฏิกิริยาที่มีสารตั้งต้นที่อยู่ในวัฏภาคแก๊สหรือของเหลว ซึ่งจะเกิดปฏิกิริยากันที่ผิวของตัว
ปฏิกิริยาที่สำคัญ ๆ ในอุตสาหกรรมผลิตสารเคมีจะใช้การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ เช่น การสังเคราะห์แอมโมเนีย การผลิตกรดไนตริก และการผลิตตัวเร่งกำจัดไอเสีย เป็นต้น<ref>http://www.il.mahidol.ac.th/</ref>
== ดูเพิ่ม ==
* [[เอนไซม์]]