ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเนื้อหาอาจละเมิดลิขสิทธิ์ หรือไม่เป็นสารานุกรม ไม่ใช่? แจ้งที่นี่
Sirirat Tongyou (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
'''นักเคมี''' คือ[[นักวิทยาศาสตร์]]ที่ฝึกฝนและศึกษาวิชา[[เคมี]] นักเคมีศึกษาองค์ประกอบและสมบัติของสสาร นักเคมีจะบรรยายคุณสมบัติที่พวกเขาศึกษาอย่างระมัดระวังในด้านปริมาณในระดับ[[โมเลกุล]]และ[[อะตอม]] นักเคมีจะวัดสัดส่วนของสสาร อัตรา[[ปฏิกิริยาเคมี|ปฏิกิริยา]] และ[[สมบัติทางเคมี|สมบัติอื่น ๆ ทางเคมี]] ในภาษาอังกฤษ คำว่า chemist สามารถหมายถึง[[เภสัชกร]]ในเครือจักรภพอังกฤษด้วย
 
นักเคมีใช้องค์ความรู้นี้เพื่อศึกษาองค์ประกอบ และสมบัติของสสารที่ไม่คุ้นเคยมาก่อน รวมถึงสร้างและสังเคราะห์สสารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเป็นปริมาณมาก ๆ และสร้างสสารจำลองและกระบวนการใหม่ ๆ
ที่เป็นประโยชน์ นักเคมีอาจมีความรู้เฉพาะในระเบียบย่อยใด ๆ ของเคมีก็ได้ นัก[[วัสดุศาสตร์]]และช่างโลหะ<!--metallurgist--> มีพื้นฐานความรู้และทักษะทางเคมีเหมือนกัน งานของนักเคมีมักมีส่วนเกี่ยวข้องกับงานของ[[วิศวกรรมเคมี]] ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการออกแบบ การสร้าง และการประเมินค่าของ[[โรงงานเคมี]]ขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพทางต้นทุนสูงสุด และทำงานในระดับเคมีอุตสาหกรรมในการพัฒนากระบวนการและวิธีการใหม่ ๆ สำหรับการผลิตสารเคมีและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องในเชิงพาณิชย์
 
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
 
 
*แบร์ซีเลียส (Berzelius) นักเคมีผู้ปฏิรูปการเขียนภาษาเคมี
[[ไฟล์:Berzelius.jpg|150px|thumbnail|left|แบร์ซีเลียส]]
:พ.ศ.2322 - 2391
ตำราเคมีในโบราณมักมีรูปภาพและลักษณ์ประหลาดๆเกลื่อนกลาดไปหมดเพราะนักเล่นแปรธาตุในสมัยนั้นต่างก็กำหนดภาษาขึ้นใช้เองเพื่อไม่ให้บุคคลอื่นเข้าใจและต้องการให้ผู้อ่านสับสนเช่นใช้สัญลักษณ์สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแทนสบู่ใช้วงกลมสองวงที่มีเส้นตรงเส้นหนึ่งเชื่อมโยงแทนแก้วและใช้วงกลมเดียวแทนทองคำดังนั้นตำราเคมีจึงมีภาพแปลกๆมากมายจนเสมือนถูกเขียนเป็นภาษาอียิปต์โบราณด้วยอักษร hieroglyphic นอกจากนี้ตำรายังขาดความสม่ำเสมอด้วย เช่น อันโตนิโอ เนรี นักเคมีชาวอิตาลี ใช้สัญลักษณ์ไม่ต่ำกว่า 20 รูปแบบแทนปรอทด้านเดียวส่วนตะกั่วก็ใช้สัญลักษณ์ที่ต่างกันถึง 14 รูปแบบเป็นต้น เมื่อถึงยุคของพรีลต์ลีย์ โลหะที่ผู้คนสมัยนั้นรู้จักมีเจ็กชนิด คือ ทองคำ เงิน ตะกั่ว ดีบุก ทองแดง เหล็ก และบรอนซ์ ส่วนดาวเคราะห์ที่รู้จักมีห้าดวงซึ่งถ้ารวมดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ก็เป็นเจ็ดดวง ด้วยเหตุนี้ชนเผ่าดาลเดียนจึงกำหนดเทพเจ้าประจำดาวแต่ละดวงและโลหะแต่ละชนิดเช่น ทองคำคู่กับดวงอาทิตย์ เงินคู่กับดวงจันทร์ ตะกั่วคู่กับดาวเสาร์ ดีบุกคู่กับดาวพฤหัสบดี เหล็กคู่กับดาวอังคาร ทองแดงคู่กับดาวศุกร์ และบรอนซ์คู่กับ ดาวพุธ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนโลหะจึงเป็นภาพดาวที่คล้องจองกัน ในเวลาต่อมานักเคมีได้รู้จักธาตุและสารประกอบมากขึ้น เช่น นิกเกิล สังกะสี พลวง โคนอลต์ กรดกำมะถัน ฯลฯ การตั้งชื่อและเรียกชื่อจึงยิ่งสับสน จึงลาวัวซีเยต้องคิดการเรียกชื่อสารเคมีใหม่ เช่นใช้วงกลมและใส่อักษรกรีก หรือละตินซึ่งเป็นอักษรตัวแรกของชื่อธาตุลงในวงกลมนั้น ใน พ.ศ. 2239
แบร์ซีเลียส แห่งมหาวิทยาลัยอุปชอลาในสวีเดนจึงเข้ามาจัดวิธีการสื่อสารทางเคมมีให้เป็นระบบยอนส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส เกิดเมื่อปี พ.ศ.2322 ในครอบครัวมีฐานะยากจน เมื่อบิดาเสียชีวิต เด็กชายแบร์ซีเลียสจึงไปเรียนที่โรงเรียนแห่งเมืองลินคอปิง ในเบื้องต้นแบร์ซีเลียสใฝ่ฝันจะเป็นนักเทศน์แต่เมื่อเรียนๆไปเขากลับสนใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต และพยายามหาเงินเรียนหนังสือด้วยการสอนพิเศษให้ลูก
 
 
 
 
<ref>สุทัศน์ ยกส้าน, 2554</ref>
== แหล่งข้อมูลอื่นอื่ ผู้น ==
*{{Commons category-inline|Chemist|นักเคมี}}