ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปทุมุตฺตโร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| จังหวัด = [[นนทบุรี]]
| สังกัด =
| วุฒิ = [[ป.ธ.4นักธรรมชั้นเอก]] <br/>[[น.ธ.เอกเปรียญธรรม 4 ประโยค]]
| ตำแหน่ง = [[เจ้าอาวาส]][[วัดชลประทานรังสฤษฎ์]]<br/>หัวหน้า[[พระธรรมทูต]]สายที่ 9<br/>รองเจ้าคณะภาค 18
}}
 
'''พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปัญญานันโท) ''' ([[11 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2454]] — [[10 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2550]]) หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปคือว่า '''หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ''' ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์คนสำคัญของ[[พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ)]]<ref>โสมชยา ธนังกุล. มรดกธรรมจากท่านพุทธทาส. '''แสตมป์ & สิ่งสะสม'''. ปีที่ 1 (+42) ฉบับที่ 3. พฤษภาคม 2555. ISSN 2229-2780. หน้า 48</ref> และผู้อุทิศชีวิตให้กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนวาระสุดท้ายของชีวิต
 
== ประวัติ ==
พระพรหมมังคลาจารย์กำเนิดที่ ตำบลคูหาสวรรค์ อ.เมือง [[จังหวัดพัทลุง|จ.พัทลุง]] เมื่อ[[วันพฤหัสบดี]]ที่ [[11 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2454]] เดิมมีนามว่า '''ปั่น เสน่ห์เจริญ''' หลังใช้ชีวิต[[ฆราวาส]]จนมีอายุได้ 18 ปี ได้[[บรรพชา]]เป็น[[สามเณร]]ที่[[วัดอุปนันทนาราม]] [[จังหวัดระนอง]] โดยมี '''พระรณังคมุนี''' เป็น[[พระอุปัชฌาย์]] เมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์จึงได้[[อุปสมบท]]เป็น[[พระภิกษุ]]ที่[[วัดนางลาด]] อ.เมือง [[จังหวัดพัทลุง|จ.พัทลุง]] โดยมี '''พระจรูญกรณีย์''' เป็น[[อุปัชฌาย์]]เมื่อปี [[พ.ศ. 2474]]
=== ชาติกำเนิด ===
พระพรหมมังคลาจารย์กำเนิดที่ ตำบลคูหาสวรรค์ อ.เมือง [[จังหวัดพัทลุง|จ.พัทลุง]] เมื่อ[[วันพฤหัสบดี]]ที่ [[11 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2454]] เดิมมีนามว่า '''ปั่น เสน่ห์เจริญ''' หลังใช้ชีวิต[[ฆราวาส]]จนมีอายุได้ 18 ปี ได้[[บรรพชา]]เป็น[[สามเณร]]ที่[[วัดอุปนันทนาราม]] [[จังหวัดระนอง]] โดยมี '''พระรณังคมุนี''' รณังคมุนีเป็นพระ[[พระอุปัชฌาย์]] เมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์จึงได้[[อุปสมบท]]เป็น[[พระภิกษุ]]ที่[[วัดนางลาด]] อ.อำเภอเมือง [[จังหวัดพัทลุง|จ.พัทลุง]] โดยมี '''พระจรูญกรณีย์''' เป็น[[อุปัชฌาย์]]เมื่อปี [[พ.ศ. 2474]]
 
=== ศึกษาหาหลักธรรม ===
ท่านมรณภาพวันที่ [[10 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2550]] ด้วยอาการ[[ปอด]]อักเสบและ[[ไต]]วาย ที่[[โรงพยาบาลศิริราช]] สิริอายุรวม 96 ปี
หลังจากอุปสมบทได้ไม่นาน ได้เดินทางไปศึกษาหาหลักธรรมในบวรพุทธศาสนาหลายจังหวัดที่มีสำนักเรียนธรรมะ เช่น นครศรีธรรมราช สงขลา และกรุงเทพมหานคร จนหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุสามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรีเป็นที่ 1 ของสังฆมณฑลภูเก็ต และสามารถสอบได้[[นักธรรมชั้นโท]] และเอกในปีถัดมาที่ จ.นครศรีธรรมราช จากนั้นท่านได้เดินทางไปศึกษาต่อด้านภาษาบาลีจนสามารถสอบ[[เปรียญธรรม 4 ประโยค]] ที่สำนักเรียน[[วัดสามพระยา]] กรุงเทพมหานคร แต่เนื่องจากเกิด[[สงครามโลกครั้งที่ 2สอง]] ทำให้หลวงพ่อต้องหยุดการศึกษาไว้เพียงเท่านั้น แล้วเดินทางกลับพัทลุงภูมิลำเนาเดิมและได้เริ่มแสดงธรรมในพื้นที่ต่างๆ ของภาคใต้ รวมทั้งเดินทางไปจำพรรษาที่วัดสีตวนารามและวัดปิ่นบังอร [[รัฐปีนัง]][[ ประเทศมาเลเซีย]] ในระหว่างที่จำพรรษาอยู่นี้ก็ได้ศึกษาทั้ง[[ภาษาอังกฤษ]]และ[[ภาษาจีน]] เพื่อเป็นพื้นฐานในการเผยแพร่ธรรมของพระ[[พระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]ต่อไป
 
=== เผยแพร่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศ ===
== ศึกษาหาหลักธรรม ==
หลังจากอุปสมบทได้ไม่นาน ได้เดินทางไปศึกษาหาหลักธรรมในบวรพุทธศาสนาหลายจังหวัดที่มีสำนักเรียนธรรมะ เช่น นครศรีธรรมราช สงขลา และกรุงเทพมหานคร จนหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุสามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรีเป็นที่ 1 ของสังฆมณฑลภูเก็ต และสามารถสอบได้[[นักธรรมชั้นโท]] และเอกในปีถัดมาที่ จ.นครศรีธรรมราช จากนั้นท่านได้เดินทางไปศึกษาต่อด้านภาษาบาลีจนสามารถสอบ[[เปรียญธรรม 4 ประโยค]] ที่สำนักเรียน[[วัดสามพระยา]] กรุงเทพมหานคร แต่เนื่องจากเกิด[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ทำให้หลวงพ่อต้องหยุดการศึกษาไว้เพียงเท่านั้น แล้วเดินทางกลับพัทลุงภูมิลำเนาเดิมและได้เริ่มแสดงธรรมในพื้นที่ต่างๆ ของภาคใต้ รวมทั้งเดินทางไปจำพรรษาที่วัดสีตวนารามและวัดปิ่นบังอร [[รัฐปีนัง]][[ ประเทศมาเลเซีย]] ในระหว่างที่จำพรรษาอยู่นี้ก็ได้ศึกษาทั้ง[[ภาษาอังกฤษ]]และ[[ภาษาจีน]] เพื่อเป็นพื้นฐานในการเผยแพร่ธรรมของ[[พระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]ต่อไป
 
== เผยแพร่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศ ==
* พ.ศ. 2475 หลวงพ่อมีโอกาสร่วมเดินทางไป[[ประเทศพม่า]] กับ[[พระโลกนาถ]]ชาวอิตาลีสหายธรรม ร่วมเดินทางแสวงบุญไป[[ประเทศอินเดีย]]และทั่วโลกโดยผ่านทางประเทศพม่าด้วยเท้าเปล่าเพื่อเป็นพุทธบูชา แต่เมื่อเดินทางถึงประเทศพม่าก็ต้องเดินทางกลับ
* ระหว่างปี พ.ศ. 2475-2476 หลวงพ่อได้มีโอกาสเดินทางไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศหลายประเทศ จนหลวงพ่อได้ชื่อว่า เป็น[[พระสงฆ์]]รูปแรกของไทยที่ได้เดินทางไปประกาศธรรมใน[[ภาคพื้นยุโรป]]
 
=== สหายธรรมของท่านพุทธทาสภิกขุ ===
พ.ศ. 2477 หลวงพ่อได้เดินทางไป[[จำพรรษา]]กับ[[พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ)|พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)]] ที่[[สวนโมกขพลาราม]] [[อำเภอไชยา]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] และร่วมเป็นสหายธรรมดำเนินการเผยแพร่หลักธรรมที่แท้จริงตามหลักคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
 
=== ประกาศธรรมแก่ชาวบ้านที่เชียงใหม่ ===
* ในปี พ.ศ. 2492 หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ได้รับอาราธนา[[นิมนต์]]ให้ไปจำพรรษาที่[[วัดอุโมงค์]] จ.เชียงใหม่ และได้เริ่มแสดงธรรมในทุกวันอาทิตย์และวันพระที่[[พุทธนิคม]] จ.เชียงใหม่ พร้อมกันนี้หลวงพ่อได้เขียนบทความต่างๆ ลงในหนังสือพิมพ์และเขียนหนังสือธรรมะขึ้นจำนวนหลายเล่ม นอกจากนี้ หลวงพ่อได้เดินทางไปประกาศธรรมแก่ชาวบ้าน ชาวเขาโดยใช้รถติดเครื่องขยายเสียง จนชื่อเสียงของหลวงพ่อดังกระฉ่อนไปทั่ว จ.เชียงใหม่ ในนาม "ภิกขุปัญญานันทะ"
* ในยุคนี้เองที่หลวงพ่อได้ก่อตั้งมูลนิธิ "[[เมตตาศึกษา]]" ที่[[วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร]] จ.เชียงใหม่ และบำเพ็ญศีล กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอีกมากมาย
 
=== วัดชลประทานรังสฤษฎ์ ===
* ในปี พ.ศ. 2502 ม.ล.ชูชาติ กำภู อธิบดี[[กรมชลประทาน]] ในสมัยนั้น ระหว่างที่ไปเยือนเชียงใหม่มีความประทับใจ ในลีลาการสอนธรรมะแนวใหม่ของหลวงพ่อ จึงเกิดความศรัทธาปสาทะในหลวงพ่อ และในขณะนั้นกรมชลประทานได้สร้างวัดใหม่ขึ้น ชื่อ "[[วัดชลประทานรังสฤษฎ์]]" ที่ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี จึงได้อาราธนาหลวงพ่อไปเป็น[[เจ้าอาวาส]] ตั้งแต่ พ.ศ. 2503 จนถึงปัจจุบัน
* พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระธรรมโกศาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ) ได้ดำเนินการเผยแพร่พระพุทธศาสนา โดยวิธีที่ท่านได้เริ่มปฏิวัติรูปแบบการเทศนาแบบดั้งเดิมที่นั่ง[[เทศนา]]บน[[ธรรมาสน์]]ถือ[[ใบลาน]] มาเป็นการยืนพูด[[ปาฐกถาธรรม]]แบบพูดปากเปล่าต่อ[[สาธารณชน]] พร้อมทั้งยกตัวอย่างเหตุผลร่วมสมัย ทันต่อเหตุการณ์ เป็นการดึงดูดประชาชนให้หันเข้าหาธรรมะได้เป็นเป็นอย่างมาก ซึ่งในช่วงแรกๆ ได้รับการต่อต้านอยู่บ้าง แต่ต่อมาภายหลังการปาฐกถาธรรมแบบนี้กลับเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปจนถึงบัดนี้ เมื่อพุทธศาสนิกชนทราบข่าวว่า หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุจะไปปาฐกถาธรรมที่ใดก็จะติดตามไปฟังกันเป็นจำนวนมาก จนในที่สุดหลวงพ่อได้รับอาราธนาให้เป็นองค์แสดงปาฐกถาธรรมในสถานที่ต่างๆ และเทศนาออกอากาศทั้งทางสถานีวิทยุกระจายเสียง และสถานีวิทยุโทรทัศน์ต่างๆ จนถึงปัจจุบัน
บรรทัด 124:
* พ.ศ. 2536 ได้รับปริญญา[[อักษรศาสตร์]]ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จาก [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* พ.ศ. 2536 ได้รับปริญญา[[ศิลปศาสตร์]]ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ปรัชญาและศาสนา) จาก [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
* พ.ศ. 2537 ได้รับปริญญา[[ศิลปศาสตร์]]ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จาก [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
* พ.ศ. 2548 ได้รับการยกย่องเป็นศิษย์เก่าดีเด่น เนื่องในโอกาสงานครบรอบ 100 ปี โรงเรียนพัทลุง จากโรงเรียนพัทลุง
* พ.ศ. 2550 ได้รับยกย่องเชิดชู ในฐานะ "ผู้สูงอายุแห่งชาติ" ประจำปี 2550 ผู้มีผลงานดีเด่นคนแรก (รูปแรก) ของประเทศ
 
=== สมณศักดิ์ที่ได้รับ ===
* วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2499 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็น[[พระราชาคณะ]]ชั้นสามัญ ที่ "''พระปัญญานันทมุนี"''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/D/006/1.PDF แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระรราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์สมณศักดิ์], เล่ม 78, ตอนที่ 6 ฉบับพิเศษ, 12 มกราคม 2499, หน้า 11</ref>
* 5 ธันวาคม พ.ศ. 2514 เป็น[[พระราชาคณะชั้นราช]]ที่ ''พระราชนันทมุนี ธรรมาวาทีคณาภรณ์ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2514/D/151/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระรราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์สมณศักดิ์], เล่ม 88, ตอนที่ 151 ฉบับพิเศษ, 31 ธันวาคม 2514, หน้า 4-5</ref>
* วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ พระราชาคณะชั้นราช ที่ "พระราชนันทมุนี"
* 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 เป็น[[พระราชาคณะชั้นเทพ]]ที่ ''พระเทพวิสุทธิเมธี ศรีภาวนาจารย์ สุนทรญาณพิสิฏฐ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2530/D/253/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระรราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์สมณศักดิ์], เล่ม 104, ตอนที่ 253 ฉบับพิเศษ, 5 ธันวาคม 2530, หน้า 3</ref>
* วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ พระราชาคณะชั้นเทพ ที่ "พระเทพวิสุทธิเมธี"
* วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2537 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็น[[พระราชาคณะชั้นธรรม ]]ที่ "''[[พระธรรมโกศาจารย์]] สุนทรญาณดิลก สาธกธรรมภาณ วิสาลธรรมวิภูษิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี"''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2537/E/057/3.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระรราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์สมณศักดิ์], เล่ม 111, ตอนพิเศษ 57 ง, 7 ธันวาคม 2537, หน้า 3</ref>
* วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏหรือรองสมเด็จพระราชาคณะ ]]ที่ "''พระพรหมมังคลาจารย์ ไพศาลธรรมโกศล วิมลศีลาจารวินิฐ พิพิธธรรมนิเทศ พิเศษวรกิจจานุกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี"''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00164286.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], เล่ม 122, ตอนที่ 9 ข, 3 มิถุนายน 2548, หน้า 1-4</ref>
 
== มรณภาพ ==
พระพรหมังคลาจารย์ถึงแก่มรณภาพเมื่อเวลา 9.09 น. ในวันที่ [[10 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2550]] ณ [[โรงพยาบาลศิริราช]] ด้วยเหตุติดเชื้อในกระแสโลหิต สิริรวมอายุได้ 96 ปี 5 เดือน [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ได้พระราชทาน[[โกศ]]แปดเหลี่ยมและรับศพไว้ในพระราชานุเคราะห์
 
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* หนังสือชีวประวัติปัญญานันทภิกขุ (สนพ.ธรรมสภา)
{{จบรายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 151 ⟶ 150:
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| ก่อนหน้า = [[พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญอินฺทปญฺโญ)]]
| ตำแหน่ง = [[พระธรรมโกศาจารย์ (ปั่น ปัญญานันโท)]]
| ปี = [[พ.ศ. 2537]] - [[พ.ศ. 2547]]
| ถัดไป = [[พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)|พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)]]
}}
{{จบกล่อง}}
 
{{เรียงลำดับ|พรหมมังคลาจารย์ (ปั่น}}
{{เกิดปี|2454}}
{{ตายปีอายุขัย|2454|2550}}
[[หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย)]]
 
[[หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (มหานิกาย)]]
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนิกชนชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 4 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร]]
[[หมวดหมู่:พระราชาคณะเจ้าคณะรอง|พรหมมังคลาจารย์]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาส|ป]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับรางวัลพุทธคุณูปการ]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนพัทลุง‎‎]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดพัทลุง]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร]]
[[หมวดหมู่:พระราชาคณะเจ้าคณะรอง|พรหมมังคลาจารย์]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับรางวัลพุทธคุณูปการ]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาส|ป]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนพัทลุง‎‎]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]]