ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาหารขยะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gulputt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ความจริงคาร์โบก็ย่อยแล้วเป็นน้ำตาล แต่คนทั่วไปคิดว่าน้ำตาล=น้ำตาลทราย
บรรทัด 3:
 
== ประเภทของอาหารขยะ ==
=== ประเภทอาหารขยะ แบ่งตามลักษณะอาหารวัตถุดิบ ===
*ซากอาหาร เป็นอาหารที่ไม่สด มีวิตามิน เกลือแร่ เอนไซม์น้อย รับประทานเข้าไปแล้วเป็นโทษกับร่างกายได้
 
บรรทัด 10:
*อาหารปลอมปน เป็นอาหารที่ไม่บริสุทธิ์ มีการปรุงแต่งรส กลิ่น สี ใส่สิ่งปลอมปนลงไปในอาหาร ทำให้อาหารมีรสอร่อย สีสวยน่ารับประทาน ทำให้กรอบ ไม่เปื่อย ไม่บูด โดยการเติมสารเคมีลงไปในอาหาร ทำให้เกิดอันตรายเป็นพิษต่อร่างกายได้ เช่น สารเร่งเนื้อแดง เพื่อทำให้เนื้อหมูมีสีแดงน่ารับประทาน ทำให้เกิดโรคมะเร็งได้ เช่น กุ้งแห้ง ขนมลูก กวาดหลากสี ซึ่งขายท้องตลาดล้วนอันตราย ตรวจพบว่า มีส่วนผสมของสีย้อมผ้า ซึ่งมีผลเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งที่กระเพาะปัสสาวะ
 
=== ประเภทอาหารขยะ แบ่งตาม ส่วนประกอบ/คุณค่าทางโภชนาการ ของอาหาร ===
*อาหารประเภททอด เช่น ไก่ทอด มันฝรั่งทอด จะใช้น้ำมันที่มีไขมันอิ่มตัวทอด เพราะว่ามีราคาที่ค่อนข้างถูก ทนต่อความร้อนหรืออุณหภูมิสูงในน้ำมันทอดได้ดี การที่เรารับประทานอาหารขยะนั้น เราจะได้รับไขมันมากกว่าที่ร่างกายต้องการสำหรับ 1 มื้อ ถ้ารับประทานบ่อยเกินไปอาจมีระดับคลอเรสเตอรอลในเลือดเพิ่มขึ้นได้
*อาหารหรือขนมที่มีเกลือ โดยทั่วไปแล้วร่างกายของเราต้องการเพียงเล็กน้อยภายในหนึ่งวัน แต่อาหารประเภทอาหารขยะ จะมีปริมาณโซเดียมเป็นส่วนผสมในสัดส่วนที่สูงมากหากรับประทานเข้าไปในปริมาณมากจะทำให้ความดันเลือดเพิ่มสูงขึ้น และเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ ปริมาณโซเดียมที่มากที่สุดต่อ 1 วันที่คนเราต้องการนั้นจะอยู่ที่ประมาณ 2,500 มก.
*อาหารประเภทน้ำตาลสูง เช่น น้ำอัดลม ลูกอม โดนัท จะมีระดับน้ำตาลในปริมาณสูงมาก การรับประทานที่เราทานเข้าไปในปริมาณมากย่อมส่งผลเสียโดยตรงต่อการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัว อาจทำให้เกิดโรคต่างๆได้ เช่น โรคอ้วน เบาหวาน นอกจากนี้ยังเป็นต้นเหตุของการเกิดฟันผุอีกด้วย
*อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต แม้ว่าคาร์โบไฮเดรตจะเป็นแหล่งพลังงานของร่างกายก็จริงแต่หากรับประทานเรากินเข้าไปมากเกินความต้องการในหนึ่งมื้อ ส่วนที่เหลือใช้ก็จะเก็บสะสมเป็นไขมันตามส่วนต่างๆของร่างกาย ก็จะทำให้เกิดโรคอ้วน
 
== สภาพของปัญหาอาหารขยะ ==