ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาหารขยะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gulputt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5982406 สร้างโดย Gulputt (พูดคุย)
บรรทัด 1:
'''อาหารขยะ''' (Junk Food)<sup>[http://www.sahavicha.com/?name=article&file=readarticle&id=920]</sup> หมายถึง อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสารอาหารน้อย ซึ่งประกอบด้วย น้ำตาล แป้ง และไขมัน ซึ่งเมื่อรับประทานเป็นประจำ จะทำให้เกิดโทษต่อร่างกาย อาหารขยะเช่น ลูกอม น้ำอัดลม ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เป็นต้น
ปัญหาด้านการโภชนาการของประเทศไทยส่วนหนึ่งมีผลกระทบมาจากอาหารขยะ ซึ่งส่งผลต่อปัญหาสุขภาพของคนไทยเป็นหลัก ภายหลังจากอาหารขยะเริ่มมีบทบาทกับคนไทยมากขึ้น พฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนไทยก็เปลี่ยนไป สารอาหารที่เคยได้รับอย่างครบถ้วนถูกหลักอนามัยก็ขาดหายไป ไม่ได้รับคุณค่าทางอาหารเท่าที่ควร ก่อให้เกิดโรคภัยต่างๆตามมา
อาหารขยะมีการใช้สารอาหารต่างๆในการปรุงแต่งและดัดแปลง เพื่อให้อาหารมีรสชาติที่อร่อยแหละง่ายต่อการรับประทาน เช่น ผงชูรส สารแต่งสีอาหาร สารกันบูด สารกันหืน สารเพิ่มเนื้อและสารที่ทำให้ข้น ซึ่งสารเหล่านี้เป็นสารอันตราย ถ้าได้รับในปริมาณสูงกว่าที่กฎหมายกำหนด หรือในปริมาณเกินกว่าร่างกายจะรับได้ อาจมีผลเสียต่อร่างกายได้<ref>http://variety.teenee.com/foodforbrain/16208.html</ref>
 
== ความหมายของอาหารขยะ ==
อาหารขยะ (Junk Food)<sup>[http://www.sahavicha.com/?name=article&file=readarticle&id=920]</sup> หมายถึง อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสารอาหารน้อย ซึ่งประกอบด้วย น้ำตาล แป้ง และไขมัน ซึ่งเมื่อรับประทานเป็นประจำ จะทำให้เกิดโทษต่อร่างกาย อาหารขยะเช่น ลูกอม น้ำอัดลม ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เป็นต้น
อาหารขยะมีการใช้สารอาหารต่างๆในการปรุงแต่งและดัดแปลง เพื่อให้อาหารมีรสชาติที่อร่อยแหละง่ายต่อการรับประทาน เช่น ผงชูรส สารแต่งสีอาหาร สารกันบูด สารกันหืน สารเพิ่มเนื้อและสารที่ทำให้ข้น ซึ่งสารเหล่านี้เป็นสารอันตราย ถ้าได้รับในปริมาณสูงกว่าที่กฎหมายกำหนด หรือในปริมาณเกินกว่าร่างกายจะรับได้ อาจมีผลเสียต่อร่างกายได้
 
== ประเภทของอาหารขยะ ==
เส้น 18 ⟶ 15:
*อาหารประเภทน้ำตาลสูง เช่น น้ำอัดลม ลูกอม โดนัท จะมีระดับน้ำตาลในปริมาณสูงมาก การที่เราทานเข้าไปในปริมาณมากย่อมส่งผลเสียโดยตรงต่อการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัว อาจทำให้เกิดโรคต่างๆได้ เช่น โรคอ้วน เบาหวาน นอกจากนี้ยังเป็นต้นเหตุของการเกิดฟันผุอีกด้วย
*อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต แม้ว่าคาร์โบไฮเดรตจะเป็นแหล่งพลังงานของร่างกายก็จริงแต่หากเรากินเข้าไปมากเกินความต้องการในหนึ่งมื้อ ส่วนที่เหลือใช้ก็จะเก็บสะสมเป็นไขมันตามส่วนต่างๆของร่างกาย ก็จะทำให้เกิดโรคอ้วน
 
== สาเหตุของปัญหาอาหารขยะในประเทศไทย ==
อาหารขยะ คือกลุ่มอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการน้อย ส่วนประกอบหลักคือ แป้ง น้ำตาล ไขมัน และเกลือ บางครั้งใช้เรียกกับอาหารที่ปรุงสำเร็จแล้ว เช่น แฮมเบอร์เกอร์ มันฝรั่งทอด พิซซ่า บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป โดนัท ขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลม เป็นต้น ซึ่งอาหารเหล่านี้เป็นเพียงแค่การแต่งเติมสี กลิ่น ผงชูรส และสารเคมีปรุงแต่ง เพื่อเป็นการเพิ่มรสชาติในการรับประทานเท่านั้น อาหารขยะให้คุณค่าทางโภชนาการต่ำ แต่ให้พลังงานสูง และมีรสชาติอร่อย หวาน มัน เค็ม เมื่อรับประทานเป็นประจำจะทำให้ร่างกายขาดสารอาหาร เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคอ้วน ก่อให้เกิดโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง จากที่กล่าวมา อาหารขยะก่อให้เกิดผลกระทบในทางไม่ดีมากมาย ซึ่งปัญหาการบริโภคอาหารขยะเกินความจำเป็นนั้นมาจากการที่คนไทยขาดความรู้ในเรื่องของการโภชนาการ และขาดความยับยั้งชั่งใจในการเลือกอาหารเพื่อการบริโภค
สภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบัน ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของคนในสังคมอย่างชัดเจน โดยเฉพาะวิถีชีวิตของประชาชนที่อยู่ในเมืองหลวง เช่น กรุงเทพมหานคร มีสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่บีบรัด ทำให้ภารกิจประจำวันต้องมีการรีบเร่ง แข่งขันกับเวลา ต้องพบกับปัญหาการจราจร ไม่มีเวลาเตรียมอาหารด้วยตนเอง และไม่มีเวลามากพอที่จะเลือกอาหารที่มีคุณภาพ หรือถูกคุณลักษณะมาบริโภค บางคนต้องรับประทานอาหารด้วยความเร่งรีบ ทำให้ต้องตัดสินใจซื้ออาหารประเภทอาหารจานด่วน ซึ่งเป็นอาหารที่ปรุงสุกเร็ว แต่คุณค่าทางโภชนาการน้อย และบางคนอาจไม่มีความรู้ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ในการเลือกอาหารมาบริโภค ซึ่งสถานการณ์หรือเหตุผลเหล่านี้ล้วนก่อให้เกิดปัญหาการบริโภคอาหารขยะเกินความจำเป็นของคนไทย หากไม่เร่งแก้ไขปัญหาจะทำให้ทรัพยากรบุคคลของประเทศมีศักยภาพและคุณภาพลดลง
 
== สภาพของปัญหาอาหารขยะ ==
เส้น 57 ⟶ 50:
*งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
จะเห็นได้ว่า อาหารที่ดีสำหรับสุขภาพคนเรานั้นก็คือ อาหารไทย และอาหารของชาวเอเซียที่มีข้าวหรือแป้งเป็นอาหารหลัก และรับประทานพืชผักผลไม้สดกันเป็นประจำ ไม่เหมือนกับอาหารของฝรั่งหรือชาวตะวันตก ที่มีไขมัน และโปรตีนมากเกินไปจนก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ซึ่งเราควรจะเลือกกินเฉพาะ เวลาที่จำเป็นจริงๆเท่านั้น เพื่อประโยชน์และสุขภาพของร่ายกายของเราเอง โดยเฉพาะในระยะยาว
 
== อ้างอิง ==
#[http://www.sahavicha.com/?name=article&file=readarticle&id=920 อาหารขยะ “Junk Food” คืออะไร]
#[http://www.nurse.cmu.ac.th/hf/nutrition1/nine.htm 9 วิธีกินดีเพื่อสุขภาพ]
 
== บรรณานุกรม ==
*วินัย ดะห์ลัน. ( 2542). โภชนาการเพื่อชีวิตที่ดีกว่า ฉบับผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี จำกัด.
*อบเชย วงศ์ทอง. ( 2546). โภชนศาสตร์ครอบครัว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
*นิติธร ปิลวาสน์. (2555).สอนลูกเรื่องอาหารขยะ. วันที่ค้นข้อมูล 27 เมษายน 2558, เวปไซด์: http://taamkru.com/th/สอนลูกเรื่องอาหารขยะ
*mq sanook. (2556).อาหารขยะ..ราคาแพง และมีภัย.วันที่ค้นข้อมูล 27 เมษายน 2558, เวปไซด์: http://guru.sanook.com/8392