ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮีเลียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Khanruthai bunkert (คุย | ส่วนร่วม)
ได้เพิ่มเติม และแก้ไขข้อมูลเรื่องฮีเลียม
บรรทัด 1:
 
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล แก๊สฮีเลียม}}
'''ฮีเลียม''' ({{lang-en|Helium}}) เป็น[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส มีลักษณะเป็นทรงกลม มีขนาดเล็กกว่าธาตุอื่นๆ และเป็นหนึ่งใน[[ก๊าซเฉื่อย]]หรือ[[ก๊าซมีตระกูล]]ใน[[ตารางธาตุ]] มี[[จุดเดือด]]4.216 k ที่ 1 atmและ[[จุดหลอมเหลว]]1.0 k ที่ต่ำที่สุดในกลุ่มธาตุ 25 atm ความหนาแน่น 0.1785 g/l ที่ 1 atm มีสถานะเป็น[[แก๊ส]]อย่างเดียว ยกเว้นในสภาพพิเศษ เป็นธาตุที่มี[[เลขอะตอม]] 2 เป็นธาตุแรกของหมู่ 0 ใน[[เอกภพ]]ตารางธาตุ บน[[โลก]]พบน้ำหนักอะตอม 4.0026 amu เลขออกซิเดชันสามัญ 0 เป็นโลหะอัลคาไลน์เอิรท์ มีความหนาแน่นมากที่สุดใน[[แก๊สธรรมชาติ]] นำไปใช้ใน[[อติสีตศาสตร์]]เป็นธาตุหายากมากบนโลก ([[วิชาความเย็นยิ่งยวด]]อะตอมของมันเบา (cryogenics)เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมเป็นแรงวัลเดอร์วาล )เกิดจากขั้วอะตอมที่ตรงกันข้ามมาชิดกัน ในระบบการหายใจสำหรับทะเลลึกเป็นแรงดึงดูดอย่างอ่อนระหว่างอะตอม ในการเติมใส่[[ลูกโป่ง]]อิเล็กตรอน และเป็น[[ก๊าซ]]ที่ใช้ในการป้องกันหลายวัตถุประสงค์โมเลกุลมีสภาพอ่อนกว่าธาตุอื่น ดังนั้นก๊าซฮีเลียมไม่มีพิษจึงสามารถทำอุณหภูมิถึงจุดวิกฤติได้และไม่ปรากฏผลทาง[[ชีววิทยา]]จุดเดือดของฮีเลียมจึงต่ำที่สุดในธาตุทั้งหมดที่มีความหนาแน่นน้อยมาก
<ref>http://student.mahidol.ac.th/~u4903013/</ref>
 
== ประวัติการค้นพบ ==
 
มีการค้นพบฮีเลียม เมื่อปี [[ค.ศ. 1868]] ใน[[บรรยากาศ]]รอบ[[ดวงอาทิตย์]] โดย [[โจเซฟ นอร์มัน ล็อกเยอร์]] เขาได้ทำการทดลองโดยการส่องโทรทัศน์ขนาด 6 นิ้ว ตรงไปที่ดวงอาทิตย์แล้วสังเกตเห็นเส้นสีเหลืองในสเปคตรัมของดวงอาทิตย์ ซึ่งไม่สอดคล้องกับธาตุใด ๆ ที่รู้จักกันบนโลก แต่เมื่อ ล็อกเยอร์ ได้แสดงความคิดเห็นการทดลองนี้ให้กับนักวิทยาศาสตร์ท่านอื่นฟัง ปรากฎว่านักวิทยาศาสตร์ท่านอื่นก็ต่างหัวเราะเยาะ แต่อีกไม่นาน เจนส์เซน ก็ได้กล่าวย้ำอีกครั้งว่า แสงที่ปรากฎในสเปกตรัมของดวงอาทิตย์ที่ล็อกเยอร์ได้เห็นนั้นได้เกิดขึ้นจริง และหลังจากนั้นก๊าซฮีเลียมก็ได้กลายเป็นที่ยอมรับในหมู่นักวิทยาศาสตร์ ล็อกเยอร์ ใช้คำศัพท์[[ภาษากรีก]]ที่เรียก[[ดวงอาทิตย์]] (เฮลิออส : Helios) มาตั้งชื่อธาตุนี้ ว่า ฮีเลียม (Helium) นอกจากนี้ [[เซอร์ วิลเลียม แรมเซย์]] ได้ค้นพบฮีเลียมบนโลก ([[ค.ศ. 1895]]) โดยเป็นส่วนประกอบที่อยู่ในแร่ยูเรนิไนท์ ซึ่ให้เส้น[[สเปกตรัม]]ตรงกับที่สังเกตจากดวงอาทิตย์
 
ฮีเลียมที่มีอยู่ใน[[เอกภพ]] มีมากเป็นอันดับสองรองจาก[[ไฮโดรเจน]] และมีปริมาณหนาแน่นใน[[ดาวฤกษ์]] ซึ่งถูกสังเคราะห์ได้จาก[[ไฮโดรเจน]]นั่นเอง โดยอาศัย[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น]] แม้ว่าฮีเลียมจะปรากฏใน[[บรรยากาศ]]ของ[[โลก]]เพียงหนึ่งส่วนใน 186,000 ส่วน (0.0005%) และมีปริมาณน้อยที่ปรากฏใน[[แร่กัมมันตรังสี]] [[โลหะ]]จาก[[อุกกาบาต]] และ[[น้ำพุแร่]] แต่ฮีเลียมปริมาณสูงพบได้ในฐานะส่วนประกอบ (มากถึง 7.6%) ในก๊าซธรรมชาติใน[[สหรัฐอเมริกา]] (โดยเฉพาะในรัฐ[[เทกซัส]], [[นิวเม็กซิโก]], [[แคนซัส]], [[โอคลาโฮมา]], [[แอริโซนา]] และ[[ยูทาห์]]) นอกจากนั้นพบใน [[ประเทศอัลจีเรีย|อัลจีเรีย]], [[ประเทศแคนาดา|แคนาดา]], [[ประเทศรัสเซีย|สหพันธรัฐรัสเซีย]], [[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]] และ [[ประเทศกาตาร์|กาตาร์]]
 
<ref>http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9520000122615</ref>
 
== คุณสมบัติ ==
 
*สถานะเป็นก๊าซ
*ไม่มีสี
*มีกลิ่นอ่อน
*น้ำโมเลกุล 4 amu
*จุดเดือด 4.216 k ที่ 1 atm
*จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง 1.0 k ที่ 25 atm
*ความถ่วงจำเพาะ 1.785
*ความหนาแน่น ไอ 0.785 g/l ที่ 0 องศา,1 atm
*ความหนืด -
*ความดันไอ -
*ความสามารถในการละลายน้ำ 0.86 ที่ 20 องศา
*ความเป็นกรด ด่าง(PH) -
*แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm 6.11 ppm ที่ 25 องศา
 
<ref>https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet5/topic2/He.html</ref>
 
== ฮีเลียมเหลว ==
 
กริโกรีโวโลวิค ได้พบว่าฮีเลียมเหลวชนิด 3He ที่มีคุณสมบัติขิงเอกภพ 4 มิติ และมีอุณหภูมิต่ำใกล้ 0 องศาสัมบูรณ์ และถ้าอุณหภูมิลดต่ำถึง 2.18 องศาสัมบูรณ์ ฮีเลียมจะกลายเป็นของเหลวเต็มตัวสามารถไหลผ่านรูเล็กๆได้ เหมือนไม่มีแรงหนืดใดๆ ต่อต้านเลย และไม่ว่าอุณหภูมิจะลดต่ำเพียงใด ฮีเลียมจะไม่มีวันเป็นของแข็ง ดังนั้นจึงสามารถนำมาทดลองศึกษาในเรื่องของแรงโน้มถ่วงและหลุมดำ และเมื่อก่อนหน้านี้ สตีเพ็น ฮาวกิ้ง เขาได้ทำการทดลองโดนการนำทฤษฎีควอนตรัมมาใช้กับหลุมดำและเขาได้แสดงให้ทุกคนเห็นว่ามีการสูญเสียมวลโดยการแพร่รังสี ฮาวกิ้ง แต่รังสีนี้มีความเข้มน้อยมาก จึงทำให้พลังงานบางส่วนหลุดออกมาได้และต้องใช้เวลาเป็นหมื่นล้านปี
 
<ref>http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=1043&pageid=10&read=true&count=true</ref>
 
== การนำไปใช้ประโยชน์ ==
เส้น 14 ⟶ 41:
* มีการนำก๊าซฮีเลียมไปผสมในอากาศสำหรับ[[นักดำน้ำ]] เพื่อป้องกันการเกิด[[โรคเบนด์]] ([[Bends]])
* ฮีเลียมเหลว (ซึ่งมีอุณหภูมิ -269 [[องศาเซลเซียส]]) นำไปใช้เกี่ยวกับ[[ตัวนำยิ่งยวด]] ([[Superconductor]])
และประโยชน์ของฮีเลียมแล้วจะมีความหนาแน่นต่ำ มีจุดเดือดต่ำมาก มีความสามรถในการละลายต่ำเฉื่อยต่อปฏิกิริยา นำความร้อนได้ดี ฮีเลียมไม่เป็นพิษและไม่ติดไฟ
== รายการอ้างอิง ==
 
{{รายการอ้างอิง}}
<ref>http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=1043&pageid=10&read=true&count=true</ref>
 
== ฮีเลียมอันตรายต่อสุขภาพ ==
{{ตารางธาตุย่อ}}
 
*สัมผัสทางหายใจ ผู้ป่วยจะมีการสูดดมเข้าไป ทำให้ตัวผู้ป่วยเป็นสีเขียวคล้ำ จะมีอาการวิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน กดระบบประสาทสัมผัส หมดสติหรือทำให้เสียชีวิตได้
*สัมผัสทางผิวหนัง บริเวณผิวหนังทีสัมผัสกับฮีเลียมจะมีอาการเหมือนน้ำแข็งกัด ทำให้ผิวหนังเป็นสีขาวซีด
*สัมผัสถูกตา บริเวณขอบตาหรือบริเวณที่ถูกฮีเลียมสัมผัส
*กินหรือกลืนเข้าไป สารนี้เป็นก๊าซที่อุณหภูมิห้อง จึงทำให้ฮีเลียมสามารถเข้าสู่ร่างกายได้
 
<ref>http://msds.pcd.go.th/searchName.asp?vID=1570</ref>
[[หมวดหมู่:แก๊สมีตระกูล|ฮีเลียม]]
[[หมวดหมู่:ธาตุเคมี]]
{{โครงเคมี}}