ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเร่งปฏิกิริยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
กรุณาอย่าลอกมา
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{สั้นมาก}}
'''ตัวเร่งปฏิกิริยา''' ({{lang-en|catalyst}}) คือ วัตถุที่เพิ่มเข้าไปในในปฏิกิริยาแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น แต่ไม่มีผลต่อ[[ผลิตภัณฑ์]]เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาเช่น การใส่[[ยีสต์]]ในการหมัก[[เหล้า]]เพื่อเร่งปฏิกิริยา มีทั้งตัวเร่งปฏิกิริยาทางเคมี เช่น โลหะ และตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เช่นเอนไซม์
[[Image:Low Temperature Oxidation Catalyst.jpeg|thumb|An [[air filter]] that utilizes low-temperature oxidation catalyst used to convert [[carbon monoxide]] to less toxic [[carbon dioxide]] at room temperature. It can also remove [[formaldehyde]] from the [[air]].]]
ตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst) ในบางกรณี การเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาโดยเพิ่มอุณหภูมิหรือความเข้มข้นของสารตั้งต้นอาจไม่เหมาะในเชิงปฏิบัติ วิธีที่เหมาะที่สุดคือ การเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไป เช่น การเตรียมแก๊สออกซิเจน (O2) จากการเผาโพแทสเซียมคลอเรต (KClO3) จะได ้O2 ค่อนข้างช้า ถ้าเราเติมแมงกานีสไดออกไซด์ (MnO2) ลงไปด้วย MnO2 จะช่วยเร่งให้เกิด O2 ได้เร็วขึ้น แต่สุดท้ายแล้วมันเองจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง มีเพียง KClO3เท่านั้นที่เปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ คือ KCl และ O2 เราจึงให้ความหมายของตัวเร่งปฏิกิริยาว่าเป็นสารที่ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงขึ้นโดยที่สารตัวเร่งปฏิกิริยาสามารถกลับคืนสู่รูปเดิมได้ ตัวเร่งปฏิกิริยาอาจจะเข้าทำปฏิกิริยาแล้วเกิดเป็นสารมัธยันตร์ (intermediate) แต่ก็จะกลับคืนรูปเดิมได้ในปฏิกิริยาย่อยขั้นต่อๆไป<ref>http://www.il.mahidol.ac.th/</ref>
{{สารบัญขวา}}
== ชนิด ==