ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเร่งปฏิกิริยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phornpan Yangdaeng (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ลอกมา
บรรทัด 3:
'''ตัวเร่งปฏิกิริยา''' ({{lang-en|catalyst}}) คือ วัตถุที่เพิ่มเข้าไปในในปฏิกิริยาแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น แต่ไม่มีผลต่อ[[ผลิตภัณฑ์]]เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาเช่น การใส่[[ยีสต์]]ในการหมัก[[เหล้า]]เพื่อเร่งปฏิกิริยา มีทั้งตัวเร่งปฏิกิริยาทางเคมี เช่น โลหะ และตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เช่นเอนไซม์
{{สารบัญขวา}}
 
== ปฏิกิริยาเอกพันธุ์ ==
ปฏิกิริยาเอกพันธุ์(homogeneous reaction) คือ ปฏิกิริยาที่ทั้งสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์อยู่ในวัฏภาค (phase) เดียวกัน ดังนั้น การเร่งปฏิกิริยาเอกพันธุ์ (homogeneous catalysis) ก็จะต้องใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีวัฏภาคเดียวกันกับทั้งสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์<br /><ref>http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/chemistry2/kinetics/homogeneous.htm</ref>
ปฏิกิริยาเอกพันธุ์ส่วนมากจะเป็นวัฏภาคของเหลว เช่น การเร่งปฏิกิริยาด้วยกรดหรือเบสในสารละลายที่เป็นของเหลว
ตัวอย่าง ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (hydrolysis) ของเอทิลแอซิเตต (ethyl acetate) ในน้ำ
ถ้าไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นช้ามาก และมีกฎอัตราเป็นดังนี้<br />
<big>r = [CH<sub>3</sub>COOCH<sub>2</sub>CH<sub>3</sub>]</big><br />
แต่เมื่อเร่งปฏิกิริยาด้วยกรดไฮโดรคลอริก กฎอัตราก็จะเปลี่ยนเป็น<br />
<big>r = k<sub>c</sub>[CH<sub>3</sub>COOCH<sub>2</sub>CH<sub>3</sub>][H<sup>+</sup>]</big> (เมื่อ k<sub>c</sub> >> k)<br />
'''''การเร่งปฏิกิริยาเอกพันธุ์มีข้อดีหลายประการ เช่น'''''<br />
1. การเร่งปฏิกิริยาเอกพันธุ์มักเกิดขึ้นได้ภายใต้สภาวะปกติ ทำให้ค่าใช้จ่ายในการผลิตต่ำ<br />
2. ลดปัญหาเกี่ยวกับการสลายตัวของสารผลิตภัณฑ์ (สารบางตัวอาจสลายตัวที่อุณหภูมิสูง ซึ่งการเร่งปฏิกิริยาเอกพันธุ์เกิดปฏิกิริยาที่อุณหภูมิไม่สูงมากนัก)<br />
3. สามารถออกแบบตัวเร่งปฏิกิริยาให้เลือกเร่งเฉพาะปฏิกิริยาที่ต้องการได้<br />
4. ตัวเร่งมีราคาไม่ค่อยแพงเมื่อเทียบกับโลหะที่ใช้ในการเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ เช่น แพลทินัม (platinum) และทองคำ (gold)<br />