ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สติ (จิตวิทยา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
meditation = สมาธิ, การเข้าสมาธิ
บรรทัด 3:
สติ (จิตวิทยา), Mindfulness (psycholgy)
-->
ในสาขา[[จิตวิทยา]]ของชาวตะวันตก '''สติ''' ({{lang-en|Mindfulness}} แปลตามความหมายที่ใช้ได้ว่า "ความเป็นผู้มีสติ" "สติ" และ "การเจริญสติ"{{sfn|Black|year unknown |p = 2}}) เป็น "การเพ่ง[[ความใส่ใจ]]ของตนไปที่[[อารมณ์]] ความคิด และความรู้สึกที่เกิดขึ้นในขณะนี้ โดยตั้งใจ โดยยอมรับ โดยไม่มีการตัดสิน"{{sfn|Zgierska|2009}} ซึ่งสามารถฝึกได้โดยวิธีปฏิบัติ[[กรรมฐานสมาธิ]]{{sfn|Zgierska|2009}} ที่ดัดแปลงมาจากการเจริญ[[อานาปานสติ]]ของ[[ชาวพุทธ]]{{sfn|Wilson|2014}}
เป็นวิธีการที่เริ่มเกิดความนิยมใน[[โลกตะวันตก]]เพราะโปรแกรม Mindfulness-based stress reduction (ตัวย่อย MBSR แปลว่า การลดความเครียดอาศัยสติ)<ref>{{cite web |title = The Stress Reduction Program, founded by Dr. Jon Kabat-Zinn in 1979... |url = http://www.umassmed.edu/cfm/stress/index.aspx umassmed.edu |website = University of Massachusetts Medical School }}</ref>
ของ ศ. ดร. จอน คาแบต-ซินน์ ผู้เป็น[[ศาสตราจารย์กิตติคุณ]]ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย[[แมสซาชูเซตส์]]
บรรทัด 41:
;การเจริญ/ข้อปฏิบัติ
Mindfulness เป็นวิธี
* "การใส่ใจที่มีกำเนิดมาจากการเจริญ[[กรรมฐานสมาธิ]]ของ[[โลกตะวันออก]]"<ref>Marlatt & Kristeller, 1999, p.&nbsp;68</ref>
* "การใส่ใจอย่างเฉพาะเจาะจง ที่มีจุดมุ่งหมาย ที่มีในขณะปัจจุบัน และโดยไม่มีการตัดสิน"<ref name="Baer defines2"> (Kabat-Zinn, 1994, p. 4) - {{cite web |title = Mindfulness Training as a Clinical Intervention: A Conceptual and Empirical Review |author = Baer, Ruth A. |url = http://www.wisebrain.org/papers/MindfulnessPsyTx.pdf |format = [[PDF]]}}</ref>
* "การย้าย[[ความใส่ใจ]]ของตนอย่างสิ้นเชิงมายังประสบการณ์ปัจจุบันโดยขณะ"<ref name="Baer defines2" />
บรรทัด 86:
และได้กลายมาเป็นข้อปฏิบัติที่นำมาใช้กันอย่างกว้างขวางสำหรับฆราวาส โดยเป็นอิสระจากความเป็นเรื่องทางศาสนาหรือทางวัฒนธรรม{{refn |group = note |name = "jama.ama-assn.org"|
"ตามประวัติเป็นข้อปฏิบัติของชาวพุทธ สติสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นสมรรถภาพที่มีอยู่ทั่วไปในมนุษย์ ซึ่งอ้างว่าสามารถช่วยสร้างความคิดที่ชัดเจนและสร้างความเปิดใจ
ดังนั้น [[กรรมฐานสมาธิ]]เช่นนี้ไม่จำเป็นต้องอาศัยความเชื่อทางศาสนาหรือทางวัฒนธรรม"<ref>{{cite web |author = Ludwig; Kabat-Zinn |title = Mindfulness in Medicine |url = http://jama.ama-assn.org/cgi/content/short/300/11/1350 |website = jama.ama-assn.org |accessdate = }}</ref>
}}{{refn |group = note|
"คาแบต-ซินน์ (2000) เสนอว่า การฝึกสติอาจจะมีประโยชน์ต่อคนมากมายในสังคมคนตะวันตก ที่อาจจะไม่ยินดีรับประเพณีหรือศัพท์คำพูดของคนพุทธ
บรรทัด 115:
 
===การปฏิบัติ===
ตามนักวิชาการท่านหนึ่ง การปฏิบัติรวมทั้งการเจริญกรรมฐานสมาธิทั้งแบบรูปนัยและอรูปนัย และแบบฝึกหัดอย่างอื่นที่ไม่เกี่ยวกับกรรมฐานสมาธิ{{sfn|Hick|2010 |p = 6}}
การปฏิบัติโดยรูปนัย เป็นการฝึกรักษาความใส่ใจที่ร่างกาย ลมหายใจ หรือความรู้สึก หรืออะไรก็ได้ที่มาปรากฏในแต่ละขณะ{{sfn|Hick|2010 |p = 6}}
ส่วนการปฏิบัติโดยอรูปนัย เป็นการฝึกสติในชีวิตประจำวัน{{sfn|Hick|2010 |p = 6}}
ส่วนแบบการฝึกที่ไม่เป็นกรรมฐานสมาธิมีการใช้ในวิธีบำบัดแบบ ''Dialectical Behavior Therapy'' และ ''Acceptance and Commitment Therapy''{{sfn|Hick|2010 |p = 6}}
 
====สติกรรมฐานสมาธิ====
สติกรรมฐานสมาธิฝึกได้โดยหลับตา นั่งขัดสมาธิบนเบาะ หรือบนเก้าอี้ มีหลังตั้งตรง<ref group=web name=AskDrK>{{cite web |last = Komaroff |first = Anthony |title = Does "mindfulness meditation" really help relieve stress and anxiety? |url = http://www.askdoctork.com/mindfulness-meditation-really-help-relieve-stress-anxiety-201403316226 |work = Ask Doctor K |publisher = Harvard Health Publications |accessdate = 2014-04-22 |date = 2014-03-31}}</ref>
ให้ใส่ใจที่การเคลื่อนไหวของท้องเมื่อหายใจเข้าหรือหายใจออก{{sfn|Wilson|2014}}
หรือที่ลมหายใจเมื่อหายใจเข้าหรือหายใจออกผ่านรูจมูก{{sfn|Wilson|2014 |p = 20}}
บรรทัด 137:
Mindfulness-based stress reduction (ตัวย่อย MBSR แปลว่า การลดความเครียดอาศัยสติ) เป็นโปรแกรมบำบัดทาง[[ประชาน]]และทาง[[พฤติกรรม]]<ref name=MBSRwebsite>{{cite web |title = What is Mindfulness-Based Stress Reduction? |publisher = Mindful Living Programs |url = http://www.mindfullivingprograms.com/whatMBSR.php |accessdate = 2014-04-15}}</ref>
พัฒนาโดย ศ. ดร. จอน คาแบต-ซินน์ ที่ศูนย์การแพทย์ของมหาวิทยาลัย[[แมสซาชูเซตส์]] ซึ่งผสมผสานการฝึกสติ ความสำนึกในร่างกาย และ[[โยคะ]] เพื่อช่วยให้มีสติเพิ่มขึ้น<ref name="Time2014">{{cite journal |author = Pickert K |title = The art of being mindful. Finding peace in a stressed-out, digitally dependent culture may just be a matter of thinking differently |journal = Time |volume = 183 |issue = 4 |pages = 40-6 |date = 2014-02 |pmid = 24640415 }}</ref>
เริ่มเมื่อไม่กี่ปีมาที่ผ่านมา การเจริญกรรมฐานสมาธิเริ่มกลายเป็นประเด็นของงานวิจัยทางคลินิกมีกลุ่มควบคุม<ref>{{Cite journal |author = Ospina MB, Bond K, Karkhaneh M, ''et al.'' |title = Meditation practices for health: state of the research |journal = Evid Rep Technol Assess (Full Rep) |issue = 155 |pages = 35-37 |date = 2007-06 |pmid = 17764203}}</ref>
ซึ่งแสดงว่า การเจริญสติอาจมีประโยชน์รวมทั้งช่วยลด[[ความเครียด]] ช่วยผ่อนคลาย และช่วยเพิ่มคุณภาพของชีวิต แต่ไม่ได้ช่วยป้องกันหรือรักษาโรค<ref name="cruk">{{cite web |url = http://www.cancerresearchuk.org/cancer-help/about-cancer/treatment/complementary-alternative/therapies/meditation?script=true |publisher = Cancer Research UK |title = Meditation |accessdate = 2013-04}}</ref>
แม้ว่า MBSR จะมีมูลฐานจากคำสอนทางศาสนา แต่โปรแกรมบำบัดไม่มีเรื่องเกี่ยวกับศาสนาเข้ามาเจือปน<ref>{{cite journal |doi = 10.1007/s10865-011-9332-x |title = Changes in spirituality partly explain health-related quality of life outcomes after Mindfulness-Based Stress Reduction |year = 2011 |last1 = Greeson |first1 = Jeffrey M. |last2 = Webber |first2 = Daniel M. |last3 = Smoski |first3 = Moria J. |last4 = Brantley |first4 = Jeffrey G. |last5 = Ekblad |first5 = Andrew G. |last6 = Suarez |first6 = Edward C. |last7 = Wolever |first7 = Ruth Quillian |journal = Journal of Behavioral Medicine |volume = 34 |issue = 6 |pages = 508-18 |pmid = 21360283 |pmc = 3151546}}</ref>
บรรทัด 169:
ตามผู้ค้นคิด DBT เป็นการบำบัดแบบ[[วิภาษวิธี]]<ref name=Linehan1993>{{cite book |author = Linehan, Marsha |year = 1993 |title = Cognitive-Behavioral Treatment of Borderline Personality Disorder |publisher = Guilford Press }}</ref>
เพราะว่าเป็น "การทำให้สภาพที่เป็นเรื่องตรงข้ามกันลงรอยกัน โดยกระบวนการสังเคราะห์ที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง"
ในฐานะเป็นผู้ปฏิบัติตามหลัก[[กรรมฐานสมาธิ]]ของชาวพุทธ[[นิกายเซน]] ผู้ค้นคิดกล่าวว่า
{{quote|
การที่ DBT เน้นความสมดุลกันระหว่างความยอมรับกับความเปลี่ยนแปลง มีกำเนิดมาจากประสบการณ์ของดิฉันเองในการศึกษากรรมฐานสมาธิและเรื่องของสภาพจิตใจตามหลัก[[โลกตะวันออก]]
หลักของ DBT เกี่ยวกับการสังเกต การมีสติ และการหลีกเลี่ยงการตัดสิน ล้วนแต่สืบเนื่องมาจากการศึกษาและการปฏิบัติกรรมฐานสมาธิของนิกายเซน<ref name=Linehan1993 />{{rp|20-21}}
 
===Mode Deactivation Therapy===
บรรทัด 192:
 
;Morita therapy (การบำบัดแบบโมะริตะ)
แพทย์[[จิตเวช]]ชาวญี่ปุ่น Shoma Morita ผู้ได้ฝึกกรรมฐานสมาธิแบบ[[เซน]] เป็นผู้พัฒนาการบำบัดแบบโมะริตะ โดยอาศัยหลักการมีสติและความไม่ติดข้อง
และเริ่มตั้งแต่การสร้างการบำบัดแบบเกสทัลท์ (Gestalt therapy) ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1940 การฝึกสติก็เป็นส่วนสำคัญของทฤษฎีและข้อปฏิบัติ<ref>{{cite web |title = Gestalt theory concepts |url = http://www.gestalttheory.com/concepts |accessdate = 2012-03-25}}</ref>
 
บรรทัด 206:
 
;Mindfulness relaxation (การผ่อนคลายโดยมีสติ)
Mindfulness relaxation (การผ่อนคลายโดยมีสติ) เป็น "กรรมฐานสมาธิ" ที่ใช้วิธีหายใจ การจินตนาภาพตามแนะนำ (guided imagery) และเทคนิคอื่น ๆ เพื่อผ่อนคลายทั้งกายและจิตใจ เพื่อช่วยลด[[ความเครียด]]<ref>[http://www.cancer.gov/dictionary?CdrID=377712 Mindfulness relaxation]</ref>
 
==งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์==
บรรทัด 240:
และดังนั้นจึงเป็นไปได้ว่า ข้อสรุปของงานวิเคราะห์อาจจะเกินความจริง<ref>{{citation |entry = Mindfulness-based therapy: a comprehensive meta-analysis |work = Database of Abstracts of Reviews of Effects |publisher = Centre for Reviews and Dissemination |date = 2013-11-29 |url = http://www.crd.york.ac.uk/crdweb/ShowRecord.asp?ID=12013035995}}</ref>
 
มี[[การปริทัศน์เป็นระบบ|งานศึกษาอย่างเป็นระบบ]]เกี่ยวกับอิทธิผลของวิธีการเจริญ "กรรมฐานสมาธิ" ต่าง ๆ (รวมทั้งท่องมนตร์ {{bracket|mantra}}, Transcendental Meditation, และการเจริญสติ) เป็นงานศึกษาที่ออกทุนให้ทำโดยสำนักงานวิจัยและคุณภาพของการรักษาพยาบาลสุขภาพ (Agency for Healthcare Research and Quality) [[สหรัฐอเมริกา]] ที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 2014<ref name="AHRQ2014">{{Cite pmid|24395196}} <!-- Goyal, M; Singh, S; Sibinga, E. M.; Gould, N. F.; Rowland-Seymour, A; Sharma, R; Berger, Z; Sleicher, D; Maron, D. D.; Shihab, H. M.; Ranasinghe, P. D.; Linn, S; Saha, S; Bass, E. B.; Haythornthwaite, J. A. (2014). "Meditation Programs for Psychological Stress and Well-being: A Systematic Review and Meta-analysis". JAMA Internal Medicine 174 (3): 357-68. --> {{PDFlink |[http://effectivehealthcare.ahrq.gov/ehc/products/375/1830/Meditation-report-140106.pdf Full Article 439 pp] |12&nbsp;MB}}</ref>
เป็นการปริทัศน์แหล่งอ้างอิง 17,801 งาน และทำการสรุปโดยอาศัยผล[[งานทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม]] (RCT) ที่มีการให้การรักษาตามมาตรฐานทั่วไปกับกลุ่มควบคุม ที่มีผู้ร่วมการทดลองรวมกัน 2,993 คน
งานสรุปว่า "โปรแกรมการเจริญกรรมฐานสมาธิ โดยเฉพาะโปรแกรมการเจริญสติ จะลดผลลบด้านต่าง ๆ ที่เกิดจาก[[ความเครียด (ชีววิทยา)|ความเครียด]]ทางใจ"<ref name="AHRQ2014" />{{rp|vii}}
มีการประเมินว่า
# "โปรแกรมการเจริญสติช่วยปรับปรุงอารมณ์ลบได้หลายด้าน รวมทั้ง[[โรควิตกกังวล]] [[โรคซึมเศร้า]] และ[[ความเครียด]]ที่ (คนไข้)รู้สึกว่ามี ... ผลที่ได้มีนัยสำคัญสำหรับโรควิตกกังวล และเกือบไม่มีนัยสำคัญสำหรับโรคซึมเศร้า โดยวัดท้ายการรักษา และผลที่ได้ก็ยังดำรงความสำคัญที่ 3-6 เดือนหลังอยู่ได้ ทั้งสำหรับโรควิตกกังวลและโรคซึมเศร้า"<ref name="AHRQ2014" />{{rp|130}}
บรรทัด 248:
# แต่ว่า MBT "ไม่ได้แสดงผลที่เหนือกว่า" เมื่อเทียบกับการบำบัดรวมทั้ง[[การออกกำลังกาย]] [[โยคะ]], progressive muscle relaxation (การผ่อนคลายกล้ามเนื้อตามลำดับ), CBT และการให้ยา<ref name="AHRQ2014" />{{rp|131}}
# ส่วน MBSR มีผลเล็กน้อยต่อระดับ[[ความเจ็บปวด]]โดยทั่วไป และเป็นเหตุให้มี "การลดระดับความปวดท้องอย่างมีนัยสำคัญที่ 30% วัดที่สองเดือน และสามารถดำรงอยู่ได้ที่หกเดือน"<ref name="AHRQ2014" />{{rp|133}}
# "ไม่มีผล หรือว่ามีหลักฐานไม่พอ สำหรับผลของโปรแกรมกรรมฐานสมาธิต่อพื้นอารมณ์ที่ดี [[การใส่ใจ]] การใช้[[สารเสพติด]] นิสัยการรับประทาน การนอนหลับ และน้ำหนัก"<ref group=web name ="JAMA">[http://archinte.jamanetwork.com/article.aspx?articleid=1809754 Goyal et al., ''Meditation Programs for Psychological Stress and Well-beingA Systematic Review and Meta-analysis'']</ref>{{refn |group = note|See also [http://www.tricycle.com/blog/meditation-nation Linda Heuman (2014), '' Meditation Nation'', TriCycle] for an interpretation of these findings.}}
 
====กลไกทางประสาท====
บรรทัด 265:
ตามข้อมูลจาก American Cancer Society (สมาคมมะเร็งอเมริกัน)
<blockquote>
... หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่มีอยู่ไม่ได้แสดงว่าการเจริญกรรมฐานสมาธิมีอิทธิผลในการรักษามะเร็งหรือว่าโรคอะไร ๆ (ทางกาย) อย่างอื่น<ref name=acs>{{cite web |title = Meditation |url = http://www.cancer.org/treatment/treatmentsandsideeffects/complementaryandalternativemedicine/mindbodyandspirit/meditation |publisher = American Cancer Society |date = 2008-11 |accessdate = 2013-08}}</ref></blockquote>
 
====การติดสารเสพติด====
บรรทัด 289:
คือ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกิดการพัฒนา จะช่วยสร้างภาพสมองที่มีประโยชน์ในการศึกษาสาขานี้
เช่น เป็นเรื่องที่น่าสนใจถ้ามสามารถใช้ [[fMRI]] แบบเวลาจริงเพื่อแสดงการทำงานในสมอง เพื่อสามารถให้ฟี้ดแบ็กทันทีและช่วยในการสอนผู้ร่วมโปรแกรม MM
และอาจจะเป็นเทคโนโลยีที่สามารถทำให้สอนกรรมฐานสมาธิได้ง่ายขึ้น และช่วยประเมินสภาพจิตใจในช่วงการเจริญกรรมฐานสมาธิ<ref>{{cite journal |last1 = Tang |first1 = Yi-Yuan |last2 = Posner |first2 = Michael I. |title = Tools of the trade: theory and method in mindfulness neuroscience |journal = Oxford Journals: Social Cognitive and Affective Neuroscience |date = 2013 |volume = 8 |issue = 1 |pages = 118-120 |doi = 10.1093/scan/nss112 |url = http://scan.oxfordjournals.org/content/8/1/118.full |accessdate = 2014-05-22}}</ref>
เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่จะมาในอนาคตจะสร้างโอกาสใหม่ ๆ ในการทำงานวิจัย
 
บรรทัด 415:
 
[[หมวดหมู่:จิตวิทยาคลินิก]]
[[หมวดหมู่:กรรมฐานสมาธิ]]
[[หมวดหมู่:การแพทย์ทางเลือก]]
[[หมวดหมู่:การบำบัดพฤติกรรมทางประชาน]]