ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทวสถานโบสถ์พราหมณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
{{เพิ่มอ้างอิง}} thumb|เทวสถาน กรุงเทพมหานคร '''เทวสถาน''' หรือที่นิยมเรียกกันว่า '''เท
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Bkkdevasathan0609a.jpg|thumb|เทวสถาน กรุงเทพมหานคร]]
 
'''เทวสถาน''' หรือที่นิยมเรียกกันว่า '''เทวสถานโบสถ์พราหมณ์''' เป็น[[โบสถ์พราหมณ์]] ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 268 ถนนบ้านดินสอ แขวงเสาชิงช้า [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] ใกล้[[เสาชิงช้า]] และ[[ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น เมื่อ [[พ.ศ. 2327]] มีโบสถ์ทั้งหมด 3 หลัง เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนชั้นเดียว มีกำแพงล้อมรอบ ปัจจุบันมีอายุได้ {{อายุ|2327|1|1}} ปี
 
== ประวัติ ==
เทวสถานได้ขึ้นทะเบียนเป็น[[โบราณสถาน]]สำคัญของชาติ ประกาศไว้ใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 66 ตอนที่ 64 วันที่ 2 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2492 หน้าที่ 5281 ลำดับที่ 11 ประกาศ ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2492<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2492/D/064/5280.PDF ประกาศกรมศิลปากร เรื่องกำหนดบัญชีโบราณวัตถุสถาน]</ref>
[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2327]] แล้วโปรดให้นำพราหมณ์จากภาคใต้ขึ้นมาประจำราชสำนัก ทำหน้าที่ประกอบพระราชพิธีสำหรับพระองค์และราชอาณาจักร<ref name="ประวัติ">กรมการศาสนา, [http://www.dra.go.th/module/attach_media/sheet6620090402112315.pdf ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนาและองค์การศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย], หน้า 175-6</ref> ภายในเทวสถานมีโบสถ์ทั้งหมด 3 หลัง เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนชั้นเดียว มีกำแพงล้อมรอบ ปัจจุบันมีอายุได้ {{อายุ|2327|1|1}} ปี
 
เทวสถานได้ขึ้นทะเบียนเป็น[[โบราณสถาน]]สำคัญของชาติ ประกาศไว้ใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 66 ตอนที่ 64 วันที่ 2 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2492 หน้าที่ 5281 ลำดับที่ 11 ประกาศ ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2492<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2492/D/064/5280.PDF ประกาศกรมศิลปากร เรื่องกำหนดบัญชีโบราณวัตถุสถาน], ตอนที่ 64, เล่ม 66, 22 พฤศจิกายน 2492, หน้า 2580</ref>
 
== สถาปัตยกรรมและศิลปกรรม ==
เมื่อเดินเข้ามาจากประตูทางเข้า จะมีเทวาลัยขนาดเล็ก เป็นที่ประดิษฐานเทวรูป พระพรหม (พระผู้สร้าง) ซึ่งตั้งอยู่กลางบ่อน้ำ สร้างขึ้นเมื่อ พุทธศักราช 2515 ภายในเทวสถาน จะมีโบสถ์อยู่ 3 หลัง คือ<ref name="ประวัติ"/>
*1)# [[หอพระอิศวร(เทวสถานโบสถ์พรามณ์ กรุงเทพมหานคร)|สถานพระอิศวร]] (โบสถ์ใหญ่ อยู่ด้านหลังเทวาลัยพระพรหม)
*2)# [[หอพระคเณศ(เทวสถานโบสถ์พรามณ์ กรุงเทพมหานคร)|สถานพระพิฆเนศวร]] (โบสถ์กลาง)
*3)# [[หอพระนารายณ์(เทวสถานโบสถ์พรามณ์ กรุงเทพมหานคร)|สถานพระนารายณ์]] (โบสถ์ริม)
นอกจากนี้ยังมี หอเวทวิทยาคม อยู่ภายในโบสก์พราหม์อีกด้วย ซึ่งจัดเป็นห้องสมุดเฉพาะกิจ และรวบรวมสรรพวิทยาการด้านประเพณีและพิธีกรรมแห่งหนึ่งในประเทศไทย เปิดให้ประชาชนเข้าไปค้นคว้าเพื่อศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาพราหมณ์-ฮินดู.
 
== พระราชพิธีตรียัมปวาย ==
{{โครงส่วน}}
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
== ดูเพิ่ม ==
* [[เทวสถาน]] หรือ [[เทวาลัย]]
* [[พระราชครูวามเทพมุนี]]
* [[พระราชครูวามเทพมุนี (ชวิน รังสิพราหมณกุล)]]
บรรทัด 25:
{{geolinks-bldg|13.752344|100.500371}}
 
[[หมวดหมู่:โบสถ์พราหมณ์สิ่งก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2327]]
[[หมวดหมู่:โบสถ์พราหมณ์ในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:เขตพระนคร]]
[[หมวดหมู่:ศาสนสถานในกรุงเทพมหานคร]]