ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ของแข็ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supakit Kongpunya.1 (คุย | ส่วนร่วม)
Supakit Kongpunya.1 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 41:
 
[[File:การเกิดการเลี้ยวเบนจากอะตอมหรือไออนในผลึก|thumbnail]]
 
<ref>http://www.mwit.ac.th/~pornmong/PPT_X-ray.pdf</ref>
 
สะท้อนแสง คลื่น ABและDG ขนานกันและเป็นแบบ in phase เมื่อคลื่นมีการสะท้อน คลื่น BC และ HF จะต้องเป็นแบบ in phase จึงจะมีการเสริมกันหรือเลี้ยวเบนได้แต่คลื่นที่สะท้อนจากระนาบที่ 2 เคลื่นที่ไปได้ไกลกว่าที่จะสะท้อนจากระนาบที่1 ตามรูปจะเห็นว่า AB = DG และ BC = HFระยะทางของทั้งสองคลื่นมีความแตกต่างกันเป็นระยะทาง GE + EH ซึ่งระยะทางนี้จะต้องเป็นตัวเลขที่คูณด้วยความยาวคลื่นซึ่งจะทำให้มีการเสริมกันและทำให้รังสีเอกซ์มีความเข้มเพิ่มขึ้น ซึ่งถือว่าเป็นภาวะจำเป็นที่จะทำให้เกิดการเลี้ยวเบน หรือ
บรรทัด 48:
เพราะฉะนั้น nλ = 2d sin θ
สมการนี่เรียกได้ว่า สมการของแบรกก์ ( Bragg’s equation ) ซึ่งระบุถึงการเลี้ยวเบนจะเกิดขึ้นเมื่อ n,λ,d และθ มีความสัมพันธ์ดังปรากฎตามสมการนี้เท่านั้น n เป็นอันดับของการเลี้ยวเบนเป็นเลขที่ลงตัวเนื่องจาก sin θ มีค่าสูงสุดไม่เกินหนึ่ง เพราะฉะนั้น แต่ละครั้งของการทดลองมี λ และ d ที่แน่นอนก็อาจมีมุมตก θ ได้หลายๆค่าเป็นไปตาม n = 1,2,3,…จากสมการเล่านี้จะเห็นว่าสำหรับ λ และ d มีค่าที่แน่นอนสำหรับผลึกหนึ่งๆ n จะมีค่าสูงขึ้นเมื่อ sinθ ค่ามากขึ้นหรือมุม θ โตขึ้น ซึ่งได้พบเมื่อ n มีค่าสูงขึ้น รังสีที่สะท้อนจะมีความเข้มข้นต่ำลงอย่างรวดเร็ว รูปข้างล่างต่อไปนี้แสดงถึงการทดลองการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์จากผงผลึกในขั้นแรกผ่านรังสีเอกซ์คลื่นเดี่ยวเข้าไปในหลอดแก้วเล็กๆที่บรรจุผงผลึกที่จะทดลอง ผงผลึกถึงจะมีปริมาณเพียงเล็กน้อยแต่ประกอบด้วยผลึกเล็กๆจำนวนมาก และอยู่ในลักษณะที่มีทิศทางต่างๆกัน
 
[[File:การจัดตั้งการทดลอง|thumbnail]]
[[File:การเลี้ยวเบนจากผลึกของโซเดียมคลอไรด์ที่ปรากฏบนแผ่นฟิล์ม|thumbnail]]
 
<ref>http://www.mwit.ac.th/~pornmong/PPT_X-ray.pdf</ref>
 
====การเกิดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์จากผงผลึก====
เส้น 74 ⟶ 75:
 
[[File:2|thumbnail]]
 
<ref>https://str.llnl.gov/str/November05/gifs/Bulatov1.jpg</ref>
 
ตารางความสัมพันธ์ของด้านและมุมของระบบผลึกแต่ละชนิด
เส้น 185 ⟶ 186:
 
 
 
<ref>http://www.mwit.ac.th/~pornmong/PPT_X-ray.pdf</ref>
<ref>https://str.llnl.gov/str/November05/gifs/Bulatov1.jpg</ref>
<ref>http://chem.flas.kps.ku.ac.th/SLIDE/SLIDE-01403117-CH05-SOLID-FULL.pdf</ref>