ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อบเชย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ถูกต้องแม่นยำ}}
 
{{Expand language| langcode = th | otherarticle = Cinnamon | lang = ภาษาอังกฤษ }}
{{รวมไป|เครื่องเทศ}}
{{ขาดความสำคัญ}}
{{ความหมายอื่น|เครื่องเทศ|ชนิดพืช|อบเชยลังกา}}
'''อบเชย''' ({{lang-en|cinnamon}}) เป็น[[เครื่องเทศ]]ที่มีกลิ่นหอม ได้มาจากเปลือกไม้ชั้นในที่แห้งแล้วของต้นอบเชย แท่งอบเชยมีสีน้ำตาลแดง มีลักษณะเหมือนแผ่นไม้แห้งที่หดงอหลังจากโดนความชื้น มักจะเรียกตามแหล่งเพาะปลูกเช่น [[อบเชยจีน]] [[อบเชยลังกา]] [[อบเชยญวน]] เป็นต้น ในประเทศไทยไม่นิยมปลูกเพราะภูมิอากาศไม่เหมาะสม{{อ้างอิง}}
 
==การใช้ประโยชน์==
เส้น 12 ⟶ 15:
น้ำมันสกัดจากเปลือกของต้นอบเชยที่ความเข้มข้น 40 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรยับยั้งการเจริญของ ''[[Streptococcus iniae]]'' ในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ โดยสารออกฤทธิ์ที่มีส่วนสาคัญต่อการยับยั้งการเจริญของ ''S. iniae'' คือ cinnamaldehyde ปลานิลที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ผสมด้วยน้ามันสกัดจากต้นอบเชยในอัตราส่วน 0.4% (w/w) ตายเนื่องจากการติดเชื้อ ''S. niae'' น้อยลง<ref> พงศ์ศักดิ์ รัตนชัยกุลโสภณ และ ปาริชาติ พุ่มขจร. 2553. [http://www.ubu.ac.th/~research/UBUJournal/DB_Journal/fileupload/12408.pdf การใช้สมุนไพรในการป้องกันและรักษาโรคในปลา] วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่12 ฉบับที่4 กรกฎาคม 2553 63 -71</ref>
 
นิยมใส่ในกาแฟในบางประเทศ ที่ควบคุมความสะอาดในการผลิตได้ เนื่องจากมีค่ากำมะถันที่ชดเชยส่วนที่ขาดของค่ากำมะถันทองแดงธรรมชาติในกาแฟได้ ทำให้ลดความเสียงเสี่ยงการเป็นเบาหวานได้สูงขึ้นอีก หรือบางครั้งมีการเรียกว่าค่าโครเมี่ยมพิโคลิเนต ที่จริงๆแล้ว โครเมี่ยมเป็นธาตุโลหะที่เป็นพิษสูง
 
แต่ผู้รับประทานควรระวังคือ ดูวันหมดอายุ หรือสังเกตุ คราบราดำที่กินกำมะถันอบเชยได้{{อ้างอิง}}
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อบเชย"