ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพนเทียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 3:
'''เพนเทียม''' (Pentium) เป็น[[เครื่องหมายการค้า]]และ[[แบรนด์]]ของผลิตภัณฑ์[[ไมโครโพรเซสเซอร์]] [[x86]] หลายตัวจาก[[อินเทล|บริษัทอินเทล]]<ref>{{cite web |title=Microprocessor Quick Reference Guide |url=http://www.intel.com/pressroom/kits/quickreffam.htm |publisher=Intel |accessdate=2007-08-14}}</ref> เพนเทียมเปิดตัวครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2536]] โดยใช้[[สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์|สถาปัตยกรรม]] [[อินเทล P5|P5]] และมีการพัฒนาต่อเนื่องโดยชิปตัวใหม่ที่ออกมาจะใช้ชื่อรหัสตามหลังคำว่าเพนเทียมเช่น [[เพนเทียมโปร]] หรือ [[เพนเทียมดูอัล-คอร์]] จนกระทั่งในปี 2553 ทางอินเทลได้เปลี่ยนระบบการเรียกชื่อชิปในตระกูลเพนเทียมทั้งใหม่หมดให้ใช้เพียงแค่คำว่า "เพนเทียม" โดยไม่มีคำใดต่อท้าย<ref name="tgdaily.com">{{cite news |title=Intel to unify product naming scheme |url=http://www.tgdaily.com/content/view/33234/122/ |publisher=TG Daily |accessdate=2007-08-15}}</ref>
 
แม้ว่าเพนเทียมถูกออกแบบมาให้เป็นรุ่นที่ 5 ที่ใช้สถาปัตยกรรม P5 ชิปที่พัฒนาต่อมาได้มีการนำสถาปัตยกรรมตัวใหม่ที่นำมาพัฒนามาใช้ภายใต้ชื่อตระกูลเพนเทียม เช่น [[อินเทล P6|P6]], [[เน็ตเบิรสต์]], [[คอร์ (สถาปัตยกรรมไมโคร)|คอร์]], [[เนเฮเลม]] และล่าสุดคือสถาปัตยกรรม[[แซนดีบริดจ์]]
 
ในปี 2541 เพนเทียมได้ถูกจัดให้เป็นซีพียูสำหรับตลาดบนของทางอินเทลเมื่อบริษัทได้เปิดตัวแบรนด์[[เซเลรอน]]<ref>{{cite web |title=Microprocessor Hall of Fame |url=http://www.intel.com/museum/online/hist%5Fmicrohist_micro/hof/ |publisher=Intel |accessdate=2007-08-11 |archiveurl = http://web.archive.org/web/20070706032836/http://www.intel.com/museum/online/hist_micro/hof/ <!-- Bot retrieved archive --> |archivedate = 2007-07-06}}</ref> เพื่อใช้สำหรับคอมพิวเตอร์ราคาประหยัด ที่ประสิทธิภาพลดลงมา จนกระทั่งในปี 2549 อินเทลได้เปิดตัวตระกูล[[อินเทล คอร์|คอร์]] โดยออกมาในชื่อ [[อินเทล คอร์ 2]] ทำให้สถานะทางการตลาดของเพนเทียมอยู่ในระดับกลาง รองจากตระกูลคอร์แต่อยู่สูงกว่าตระกูลเซเลรอน<ref name="asia.cnet.com">{{cite web | last=Brown | first=Rich |coauthors=Michelle Thatcher | title=The multicore era is upon us: How we got here – Where we stand today | url=http://asia.cnet.com/reviews/pcperipherals/0,39051168,61998152-5, 00.htm | date=23 April 2008 | work=CNET Asia | publisher= | accessdate=2009-04-18 }}</ref> โดยในปัจจุบันชื่อเพนเทียมเป็นชิปที่อยู่ในราคากลางโดยอยู่ระหว่างอินเทลคอร์และอินเทลเซเลรอน<ref name="xbitlabs.com">{{cite news |title=Intel Readies Pentium E2000-Series Processors |url=http://www.xbitlabs.com/news/cpu/display/20061115223825.html |last=Shilov |first=Anton |publisher=X-bit labs |accessdate=2007-08-15}}</ref>
 
== ชื่อ ==
บรรทัด 21:
 
* Pentium ตัวแรกที่ใช้สถาปัตยกรรม [[อินเทล P5|P5]]
* [[Pentium OverDrive]]
* [[Pentium MMX]]
* [[Pentium OverDrive MMX]]
* [[Pentium Pro]]
* [[Pentium II]]
* [[Pentium II OverDrive]]
* [[Pentium II Xeon]]
* [[Mobile Pentium II]]
* [[Pentium III]]
* [[Pentium III Xeon]]
* [[Mobile Pentium III]]
* [[Pentium III M]]
* [[Pentium 4]]
* [[Pentium 4 Extreme Edition]]
* [[Pentium D]]
* [[Pentium Extreme Edition]]
* [[Pentium M]]
* [[Pentium Dual-Core]]
 
== เพนเทียม ปี 2553 เป็นต้นไป ==
บรรทัด 45:
 
; เดสก์ท็อป
* G6950 (2.80GHz)
 
; โน้ตบุ๊ก
* P6200 (2.13GHz)
* P6100 (2.00GHz)
* P6000 (1.86GHz)
* U5400 (1.20GHz)
 
=== สถาปัตยกรรมแซนดีบริดจ์ ===
บรรทัด 71:
* [http://www.culi.chula.ac.th/Tic/pentium4.html รู้จักกับเพนเทียมโปรเซสเซอร์]
 
<!-- พ นำหน้าสำหรับจัดหมวดหมู่-->
[[หมวดหมู่:อินเทล]]
[[หมวดหมู่:ไมโครโพรเซสเซอร์]]