ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูกลีนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
'''ยูกลีนา''' (euglena) เป็น[[สัตว์เซลล์เดียว]]ขยายพันธุ์ได้โดยวิธีแบ่งเซลล์ มีลักษณะเป็นรูปกระสวย หน้าป้าน ท้ายเรียว มีเยื่อหุ้มหนาเรียก [[เพลลิเคิล (Pellicle)]] มีช่องเปิดขนาดเล็ก เรียก [[ไซโตสโตม (Cytostome)]] เชื่อมต่อเซลล์เป็นช่องเรียก canal และ ตอนปลายจะพองออกมีลักษณะเป็นถุงเรียกว่า [[รีเซอวัว]] ([[Reservoir]]) ทั้ง canal และ resovior รวมเรียกว่า [[ไซโตฟาริงซ์]] (Cytopharynx) โดยที่ช่วงฐานจะมีส่วนที่เรียกว่า เรียก [[ไคเนโตโซม]] หรือ [[เบลฟฟาโรพลาสต์]] หรือ [[เบซอลบอดี]] (Kinetosome or Blepharoplast or Basal body) เป็นที่เกิดของ[[แฟลเจลลัม]] โดยมี 2 เส้น เส้นยาวยื่นจากไซโตสโตม เพื่อใช้ในการเคลื่อนที่, เส้นสั้นอยู่ภายในรีเซอวัว -มี[[คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล]]ลักษณะทรงกลมอยู่ทางด้านข้างของรีเซอวัว โดยมีแวคิวโอลขนาดเล็กล้อมรอบอยู่ ทำหน้าที่รวบรวมน้ำ และกำจัดน้ำโดยการหดตัว ทาง canal ของ gullet euglena มีจุดตาสีแดง (Eye spot or Stigma) เพราะมี caroteinoid pigment granules ลักษณะเป็นรูปถ้วยอยู่ทางด้านข้างไซโตฟาริงซ์ ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของแสงส่งไปยังอวัยวะรับความรู้สึกที่โคน flagellum ที่เรียกว่า paraflagellar body (rod) หรือ paraxonemal หรือ paraxial body เพื่อทำให้เกิดการเคลื่อนที่พัดโบกไปยังตำแหน่งของแสงที่สองมาเป็นการตอบสนองที่เรียกว่า phototaxis
 
ตัวของยูกลีนาเป็นสีเขียว เนื่องจากมี[[คลอโรพลาสต์]]รูป Large plated chloroplasts with the so-called double sheeted pyrenoid, that is, a pyrenoid
ตัวของยูกลีนาเป็นสีเขียว เนื่องจากมี[[คลอโรพลาสต์]]รูปไข่กระจายอยู่ในไซโตพลาสซึม เมื่ออยู่ในสภาพที่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ[[โฮโลไฟติค]] อาหารสะสมเป็น[[พาราไมลอน]]กระจายในเซลล์ ถ้าอยู่ในสภาพที่ไม่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ[[แซบโปรโซอิค]] โดยคลอโรฟิลล์จะสลายไป แต่ถ้ากลับมาอยู่ในสภาพที่มีแสงใหม่ ยูกลีนาจะสร้างคลอโรฟิลล์ขึ้นมาใหม่ แต่ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ เนื่องจากเกิด[[การกลายพันธุ์]] It is concluded that photosynthetic competence is not necessary for chloroplast development in Euglena and supports the hypothesis, already suggested from other evidence, that light induction results in activation of synthetic machinery external to the developing chloroplast.
which carries on both plastid surfaces a watch glass shaped cup of paramylon อยู่ในไซโตพลาสซึม จัดเป็น mixotroph เพราะ เมื่ออยู่ในสภาพที่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ autophototroph อาหารสะสมเป็น[[พาราไมลอน]]กระจายในเซลล์ ถ้าอยู่ในสภาพที่ไม่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ heterotroph แบบ holozoic nutrition หรือ phagocytosis โดยคลอโรฟิลล์จะสลายไป เรียก bleached euglena หรือ mutant euglena ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองหรือเกิดจากการชักนำ (induction) เช่น ความมืด,ยา, UV light,ความร้อน เป็นต้น พวกนี้จะแค่ protoplastid ที่ยังไม่กลายเป็น mature chloroplast แต่ถ้ากลับมาอยู่ในสภาพที่มีแสงใหม่ 4 ชั่วโมงพบยูกลีนาจะสร้างคลอโรฟิลล์ขึ้นมาใหม่โดย protoplastid มีลักษณะรูปร่างยาวขึ้นและ เริ่มเป็นชั้นของ lamellae เกิดขึ้น (lamination of chloroplast) หลังจากนั้น 72 ชั่วโมงพบว่าเหมือนกับ euglena ปรกติที่สามารถสังเคราะห์แสงได้ เรียก ปรากฏการนนี้ว่า light-dark adaptation
== การสืบพันธุ์ ==
การสืบพันธุ์ของยูกลีนาเป็นแบบไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่งเซลล์ตามยาวจากด้านหน้าไปยังด้านท้าย ในสภาพอากาศที่ไม่เหมาะสมยูกลีนาจะแบ่งตัวในซีสต์ โดยเซลล์หดตัวเป็นรูปกลมหุ้มด้วย[[เยื่อเจลลาติน]] (Gelationous covering) เป็นการเข้าเกราะ จากนั้นยูกลีนาจึงเริ่มแบ่งตัว ซึ่งจะได้ยูกลีนามากกว่า 1 ตัวใน 1 [[ซีสต์]]