ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุณหเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fern051138 (คุย | ส่วนร่วม)
อุณหเคมี
Fern051138 (คุย | ส่วนร่วม)
อุณหเคมี
บรรทัด 1:
บทนำ
อุณหเคมี คือ การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทางกายภาพและเคมี ซึ่งการเปลี่ยนแปลงพลังงานนี้จะเกี่ยวกับความร้อน ในเรื่องนี้เราจะกล่าวถึง
พื้นฐานของอุณหเคมี ที่เกี่ยวข้องกับการสังเกต การวัด และการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ทั้งทางกายภาพและทางเคมี
 
พลังงาน (Energy) คือ ความสามารถที่จะทำงานและเปลี่ยนแปลงพลังงานอันเกิดจากกระบวนการทางเคมี เพราะ พลังงานจะเป็นสิ่งที่เรามองไม่เห็น จับต้องดมกลิ่นและชั่งน้ำหนักไม่ได้นั่น
คือพลังงานเป็นความสามารถทำในการทำงาน สามารทำให้เกิดแรงในช่วงระยะทางหนึ่งได้
 
งาน(work)คือการเปลี่ยนแปลงพลังงานอันเกิดจากขบวนการทางเคมี
เส้น 14 ⟶ 16:
<ref>www2.nkc.kku.ac.th/kitiyaporn.w/kku_nkc/.../genchemlab-new.doc</ref>
 
เอนทัลปี คือการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมีและขบวนการที่เกิดขึ้นในระบบ สมช จะเกิดขึ้นภายใต้สภาวะที่บรรยากาศมีความดันคงที่ ซึ่งอยู่ภายใต้ความดัน 1 บรรยากาศและ
ปริมาณความร้อนที่ผ่านเข้าหรือออกจากระบบในขบวนการที่ความดันคงที่ด้วยปริมาณที่เรียกว่า เอนทัลปี สัญลักษณ์คือ H
 
เอนทัลปีของปฏิกิริยาคือ ความแตกต่างระหว่างเอนทัลปีของสารผลิตภัณฑ์และเอนทัลปีของสารตั้งต้น ซึ่งจะมีค่าบวกหรือลบก็ได้
เส้น 54 ⟶ 57:
การเปลี่ยนแปลงพลังงานในปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมีเกือบทุกปฏิกิริยาจะต้องดูดกลืนหรือคายพลังงานซึ่งมักจะอยู่ในรูปของความร้อน
ตัวอย่างเช่น การทำการเผาไหม้เชื้อเพลิง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงพลังในกระบวนการทางเคมีจะถูกเรียกว่า เทอร์โมเคมีหรือ อุณหเคมี ดังนั้น จักรวารส่วนที่เหลือทั้งหมดซึ่งอยู่ภายนอกระบบเรียกว่า
สิ่งแวดล้อม ซึ่งความร้อน คือพลังงานความร้อนที่ถ่ายเทระหว่างวัตถุ 2 ชั้นที่มีอุณหภูมิแตกต่างกัน จะไหลจากวัตถุรอนไปวัตถุเย็น
การเกิดปฏิกิริยาเคมีประกอบด้วยกระบวนการที่สำคัญ 2 กระบวนการ
1.กระบวนการสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของสารตั้งต้น คือ
เส้น 60 ⟶ 64:
2.กระบวนการสร้างแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของสารผลิตภัณฑ์
คืออะตอม จะเข้ารวมกันกลายเป็นผลิตภัณฑ์และมีการปลดปล่อยพลังงานภายในที่เป็นส่วนเกินออกมา เพื่อให้อะตอมของสารสร้างแรงยึดเหนี่ยวต่อกันได้
1. ปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endergonic reaction)คือ ปฏิกิริยาที่มีการใช้พลังงานในการสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมมากกว่าพลังงานที่ถูกปล่อยออกมาเพื่อสร้างแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม
ทำให้เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาเคมีแล้ว สารจะมีการดูดพลังงานเข้าไปมากกว่าพลังงานที่คายออกมา
2. ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exergonic reaction)คือ ปฏิกิริยาที่มีการใช้พลังงานในการสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมน้อยกว่าพลังงานที่ปล่อยออกมาเพื่อสร้างแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม
ทำให้เมื่อสิ้นสุดการเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้ว สารจะคายพลังงานออกมามากกว่าพลังงานที่ดูดเข้าไป
<ref>https://books.google.co.th/books?id=gcRLngEACAAJ&dq=%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5&hl=th&sa=X&ei=0xw5Vc6KKdidugSH5oH4Bw&ved=0CDYQ6AEwBA</ref>
การทดลอง เรื่องอุณหเคมี
 
วัตถุประสงค์
 
1. ศึกษาเพื่อสามารถคำนวณหาความร้อนที่แคลอริมิเตอร์ได้รับได้
 
เส้น 75 ⟶ 82:
 
อุปกรณ์
 
1. บีกเกอร์ ขนาด 50 mL
 
เส้น 92 ⟶ 100:
 
9. เครื่องคิดเลข
 
การทดลองนั้นจะถูกแบ่งออกเป็น 2ชุด
ตอนที่1 การวัดค่าความจุความร้อนของแคลอริมิเตอร์
1. ใช้กระบอกตวงตวงน้ำกลั้นในปริมาตร 50 mL แล้วเทลงในแคลอริมิเตอร์ที่แห้งสนิท