ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คันโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q132480 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เขตคันโต" → "ภาคคันโต" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{Infobox settlement
{{ต้องการอ้างอิง}}
<!-- See Template:Infobox settlement for additional fields and descriptions -->
{{otheruses|เขตการปกครองของประเทศญี่ปุ่น}}
| name = ภูมิภาคคันโต
{| align="right" border=1 cellspacing=0 cellpadding=2 style="border: solid 2px #000000; margin-left: 16px"|
| native_name = 関東地方
| colspan=2 align="center" style="border-style: none none solid; background: green"|'''ภาคคันโต
| native_name_lang = ja
| colspan=3 align="center" style="border-style: solid none solid; background: greenyellow"|7จังหวัด
| settlement_type = [[ภูมิภาคของญี่ปุ่น|ภูมิภาค]]
|-
| image_skyline = Japan Kanto Region large.png
| align="center" style="border-style: none none solid; background: #f0f0f0"|เนื้อที่
| image_alt = ภาคคันโตแสดงในแผนที่ประเทศญี่ปุ่น
| align="right" style="border-style: none none solid solid"|'''32,423.90''' ก.ม.²&sup2;
| image_caption = ภาคคันโตเมื่อเทียบกับทั้งประเทศ
|-
| image_map = Mapofkanto.png
| align="center" style="border-style: none none solid; background: #f0f0f0"|ประชากรทั้งหมด(ทุกจังหวัด)
| map_alt = Closeup map showing the areas within the Kantō region of Japan
| align="right" style="border-style: none none solid solid"|'''41,040,394'''<br />(31 มีนาคม 2006)
| map_caption = จังหวัดในภาคคันโต
|-
| pushpin_map =
| align="center" style="border-style: none none solid; background: #f0f0f0"|ความหนาแน่น
| pushpin_label_position =
| align="right" style="border-style: none none solid solid"|'''1,265.75'''ก.ม.&sup2;<br />(31 มีนาคม 2006)
| pushpin_map_alt =
|}
| pushpin_map_caption =
| latd = |latm = |lats = |latNS =
| longd = |longm = |longs = |longEW =
| coor_pinpoint =
| coordinates_type =
| coordinates_display = inline,title
| coordinates_footnotes =
| unit_pref = Metric<!-- or US or UK -->
| area_footnotes =
| area_total_km2 = 32,423.90
| area_land_km2 =
| area_water_km2 =
| area_water_percent =
| area_note =
| elevation_footnotes =
| elevation_m =
| population_footnotes =
| population_total = 42,598,300
| population_as_of = ค.ศ. 2012
| population_density_km2 = auto
| population_est =
| pop_est_as_of =
| population_demonym =
| population_note =
| timezone1 = [[เวลามาตรฐานญี่ปุ่น|JST]]
| utc_offset1 = +9
| footnotes =
|}}
 
'''คันโต''' ({{ญี่ปุ่น|関東|Kantō}}) เป็นเขตแดนทางภูมิศาสตร์ภูมิภาคของ[[ประเทศญี่ปุ่น]]บน[[เกาะฮนชู]] ในเขตภาคคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ [[จังหวัดกุนมะ|กุนกุมมะ]], [[จังหวัดคะนะกะวะงะวะ|คะนะกะวะงะวะ]], [[จังหวัดจิชิบะ|จิชิบะ]], [[จังหวัดไซตะมะ|ไซตะมะ]], [[จังหวัดโตเกียว|โตเกียว]], [[จังหวัดโทะจิงิโทะชิงิ|โทะจิงิโทะชิงิ]] และ [[จังหวัดอิบะระกิ|อิบะระกิ]] คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา เขตภาคคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548)อัตราความหนาแน่น 1,279.53 คน/ตารางกิโลเมตร
[[ไฟล์:Japan Kanto Region large.png|thumb|275px|เขตคันโต อยู่บริเวณตอนกลางของประเทศญี่ปุ่น]]
 
'''คันโต''' ({{ญี่ปุ่น|関東|Kantō}}) เป็นเขตแดนทางภูมิศาสตร์ของ[[ประเทศญี่ปุ่น]]บน[[เกาะฮนชู]] ในเขตคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ [[จังหวัดกุนมะ|กุนมะ]] [[จังหวัดคะนะกะวะ|คะนะกะวะ]] [[จังหวัดจิบะ|จิบะ]] [[จังหวัดไซตะมะ|ไซตะมะ]] [[จังหวัดโตเกียว|โตเกียว]] [[จังหวัดโทะจิงิ|โทะจิงิ]] และ[[จังหวัดอิบะระกิ|อิบะระกิ]] คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา เขตคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548)อัตราความหนาแน่น 1,279.53 คน/ตารางกิโลเมตร
 
คันโตเป็นดินแดนแห่งพื้นที่ราบลุ่มที่ใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น ทำให้เป็นพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นที่สุด คือ 39.6 ล้านคน กล่าวคือ 15,600 คนต่อตารางกิโลเมตร เป็นที่ตั้งของกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ ซึ่งเป็นที่ตั้งของพระราชวังอิมพิเรียล ที่ประทับของพระมหาจักรพรรดิ เป็นศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาล ธุรกิจ สถาบันการศึกษา รวมทั้งสิ่งบันเทิงและความทันสมัยต่าง ๆ แต่เนื่องจากที่ดินและที่พักอาศัยในกรุงโตเกียวมีราคาแพงมาก ผู้คนส่วนใหญ่จึงพักอาศัยอยู่บริเวณชานเมืองหรือจังหวัดใกล้เคียงเช่น คะนะกะวะ ชิบะ ไซตะมะ แล้วเดินทางโดยรถไฟเข้ามาทำงานหรือเรียนที่โตเกียว นอกจากกรุงโตเกียวแล้ว เมืองโยะโกะฮะมะ ซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญ เนื่องจากมีท่าเรือพาณิชย์นานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคตะวันออกไกล ก็อยู่ในภูมิภาคนี้เช่นกัน บริเวณชายฝั่งของอ่าวโตเกียว เป็นที่ตั้งของเขตอุตสาหกรรม อันได้แก่โรงงานผลิตเหล็ก ต่อเรือ ปิโตรเลียม เครื่องใช้ไฟฟ้า ในส่วนที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำบางแห่ง เป็นแหล่งเกษตรกรรม ทุ่งนา เพาะปลูกพืชผัก ผลไม้ ฟาร์มสุกร และฟาร์มโคนม ฤดูร้อนในแถบคันโต ค่อนข้างร้อนชื้นและเหนอะหนะ ฤดูหนาวอากาศเย็น มีหิมะตกบางเบา ทางตอนใต้ของโยะโกะฮะมะ อากาศอบอุ่น
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/คันโต"