ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มณี สิริวรสาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อ้างจามชีวิตเหมือนฝัน หน้า 91-102
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
 
==ประวัติ==
=== ชีวิตตอนต้นและการศึกษา ===
คุณหญิง มณี สิริวรสาร มีชื่อแต่แรกเกิดว่า '''มณี เซเนียร์ บุนนาค''' ({{lang-en|Mani Xenier Bunnag}})<ref name="birthrecord">{{cite web
| url = http://www.findmypast.co.uk/birth-indexes-search-start.action
เส้น 34 ⟶ 35:
| publisher = findmypast.co.uk|accessdate=16 September 2012
| quote = BUNNAG Mani X Kensington London 1915}}
</ref><ref>{{cite web |url= http://www.bunnag.in.th/english/history_17.html |title= History |author=|date=|work= |publisher= The Bunnag Lineage Club |accessdate=21 พฤศจิกายน 2557}} {{en icon}}</ref> เกิดที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นธิดาของพระยาราชานุประพันธ์ (เปีย บุนนาค) ราชทูตไทยประจำราชสำนักเซนต์เจมส์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เกิดแต่ภรรยารองชื่อ ดอรีส วินดั้ม สตรีชาวอังกฤษ<ref name= "มณี1"/> คุณหญิง มณีเป็นหลานปู่ของ[[เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี]] (ท้วม บุนนาค) มีพี่ชายร่วมบิดามารดา 1 เพียงคนเดียว ชื่อคือ อุทัย ภานุวงศ์<ref name= "มณี1"/> และมีพี่ชายและพี่สาวต่างมารดา 10 คน<ref>[http://www.bunnag.in.th/pdf/a049.pdf พระยาราชานุประพันธ์ (เปีย บุนนาค)]</ref>
 
พ.ศ. 2460 เมื่อพระยาราชานุพันธ์ (เปีย บุนนาค) พาครอบครัวกลับประเทศไทย ได้พักอาศัยอยู่ที่บ้านที่ได้รับพระราชทาน ที่ถนนสี่พระยา ซอยแพรกบ้านใน หลังวัดมหาพฤฒาราม (วัดตะเคียน) คุณหญิง มณีได้เข้าเรียนที่โรงเรียนอัสสัมชัญ เรียนชั้นประถมได้ 3 ปี บิดาให้ลาออกมาเรียนภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสที่บ้านกับมารดา
 
หลังจากบิดาถึงแก่กรรมได้เข้าเรียนต่อเป็นนักเรียนประจำที่โรงเรียนเซนต์แมรีส์ เอส.พี.จี. ซึ่งเป็นโรงเรียนมิชชั่นนารีนิกายโปรแตสแตนต์ มีอาจารย์ใหญ่เป็นชาวอังกฤษ เมื่อเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาแล้ว ได้สอบเข้าคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียนได้เพียง 2 ปี พ.ศ. 2478 สอบชิงทุนของ ก.พ. (คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน) ในแผนกอักษรศาสตร์ ได้ไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ และสอบเข้าเรียนที่[[มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด]]
 
==เสก= ชีวิตสมรส ===
[[ไฟล์:ประชาธิปก-เดชนศักดิ์-มณี-จิรศักดิ์.jpg|thumb|230px|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตัดผมหม่อมราชวงศ์เดชนศักดิ์ โอรสของพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต และหม่อมมณี]]
มณีพบรักกับ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต]] หรือนามที่ทรงแนะนำตัวแก่มณีว่า "เจรี่"<ref>มณี สิริวรสาร, คุณหญิง. ''ชีวิตเหมือนฝัน ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2''. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์, มมป. หน้า 332</ref> ที่ศึกษาอยู่ในสหราชอาณาจักรเหมือนกัน ความสัมพันธ์ของทั้งสองจึงนำไปสู่การหมั้นเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2481<ref>มณี สิริวรสาร, คุณหญิง. ''ชีวิตเหมือนฝัน ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2''. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์, มมป. หน้า 365</ref> และมีพิธีมงคลสมรสจัดขึ้นที่สถานทูตไทยในกรุงลอนดอน โดยมีพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงเป็นองค์ประธาน<ref>มณี สิริวรสาร, คุณหญิง. ''ชีวิตเหมือนฝัน ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2''. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์, มมป. หน้า 367</ref> เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2481<ref>มณี สิริวรสาร, คุณหญิง. ''ชีวิตเหมือนฝัน ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2''. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์, มมป. หน้า 364</ref> ด้วยเหตุนี้มณีจึงได้ลาออกจาก[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]]หลังจากร่ำเรียนมาได้สองปี
หลังจากเรียนที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดเป็นเวลา 2 ปี มณีได้ลาออก เพื่อเข้าพิธีสมรสกับ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต]] พระราชโอรสบุญธรรมใน[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ใน พ.ศ. 2480 ต่อมาและมีบุตร 2 คน คือ
 
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาคและหม่อมมณี มีพระโอรสด้วยกัน 2 คน ซึ่งผู้สืบสันดานได้รับพระราชานนามสกุล ''ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา'' คือ
# หม่อมราชวงศ์เดชนศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธุ์ (พ.ศ. 2482 — 2552)
# หม่อมราชวงศ์ทินศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธุ์ (พ.ศ. 2485 — ) สมรสกับนางศิริกาญจน์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา<ref>{{cite press release |title=ถามปอ|url=http://www.thairath.co.th/content/life/178452|publisher=ไทยรัฐ|language=ไทย|date=13 มิถุนายน 2554|accessdate=29 กรกฎาคม 2555}}</ref> (สกุลเดิม: ศรีกาญจนา) มีบุตรสองคน และบุตรบุญธรรมหนึ่งคน<ref>[http://www.whoweeklymagazine.com/people_content_detail.php?t=thai&t1=people&id=136 นิตยสาร WhO? - ศีกัญญา ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ พี่สาวที่แสนดีและสีสันบ้านหรรษา]</ref>
 
ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ทำงานกับบริษัท A.T.A. ทำหน้าที่ขับเครื่องบิน และเป็นเสรีไทยในประเทศอังกฤษอีกด้วย จนทำให้พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต สิ้นพระชนม์เนื่องจากทรงขับเครื่องบิน และเครื่องตกที่ประเทศสก๊อตแลนด์ในระหว่างที่ทรงปฏิบัติหน้าที่
 
หลังการสิ้นพระชนม์ของพระภัสดาคนแรก หม่อมมณีได้เข้าพิธีเสกสมรสใหม่ครั้งที่สองกับ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์]] ซึ่งเป็นพระเชษฐาของ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต]] มีพระธิดา 1 เพียงคนเดียว คือ
* หม่อมราชวงศ์อรมณี ภาณุพันธุ์ สมรสกับวัฒนา นิเวศน์มรินทร์ มีบุตรสามคน
 
เส้น 55 ⟶ 58:
ต่อมาได้กลับไปพักที่[[ประเทศอังกฤษ]]เพื่อเยี่ยมมารดาและบุตรที่ศึกษาอยู่ที่นั่น ได้ทำงานในตำแหน่งหัวหน้าแผนกส่งวิทยุกระจายเสียงภาคภาษาไทยให้สถานีวิทยุบีบีซี อยู่ประมาณ 1 ปี จึงกลับเมืองไทย พ.ศ. 2503 ได้เข้าพิธีสมรสใหม่กับพลตรีนายแพทย์ ปชา สิริวรสาร และใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันถึง 23 ปี มีบุตรบุญธรรมด้วยกันสองคนคือ ภาณุพล และภาณินี สิริวรสาร<ref>{{cite press release |title=คุณหญิง มณีได้ผู้ร่วมทุนใหม่ สานต่อโครงการยักษ์ของตระกูล|url=http://www.gotomanager.com/news/printnews.aspx?id=1417|publisher=นิตยสารผู้จัดการ|language=ไทย|date=พฤษภาคม 2542|accessdate=11 สิงหาคม 2555}}</ref> จนนายแพทย์ ปชาถึงแก่กรรม เมื่อ พ.ศ. 2526
 
คุณหญิง มณี สิริวรสาร ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อ [[พ.ศ. 2542]] สิริอายุ 85 ปี
==งานสาธารณประโยชน์==
คุณหญิง มณี สิริวรสาร และพลตรีนายแพทย์ ปชา สิริวรสาร ได้บริจาคทรัพย์สร้างตึกผู้ป่วยด้วย โรคหู คอ จมูก เป็นอาคาร 4 ชั้น มีห้องผ่าตัดทันสมัย มอบให้แก่[[โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า]] และได้ขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้ชื่อตึกว่า "ตึกศักดิเดชน์" ทั้งยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]] เสด็จฯ มาทรงทำพิธีเปิดตึกนี้ เมื่อ พ.ศ. 2514 ต่อมาได้บริจาคทรัพย์ส่วนหนึ่งร่วมสร้าง[[โรงพยาบาลสมเด็จพระปกเกล้าฯ]] ที่[[จังหวัดจันทบุรี]] และมอบเงินให้แก่กรมแพทย์ทหารบก จำนวน 1 ล้านบาทเป็นทุนจัดตั้งมูลนิธิ "ศักดิเดชน์" เพื่อจัดหาเครื่องมือแพทย์และใช้ในการดูแลบำรุงรักษาอาคารด้วย จัดตั้งมูลนิธิถวายไว้ที่วัดราชบพิธ เพื่อใช้ดอกผลเป็นปัจจัย 4 ถวายพระสงฆ์โดยสมทบทุนทุกปี ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
== ชีวิตส่วนตัว ==
นอกจากนี้คุณหญิง มณี ยังได้ช่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์ตามสมาคมสตรีต่างๆ และเป็นกรรมการ อยู่หลายสมาคม ทั้งยังช่วยหาเงินปลูกสร้างอาคารให้กับมูลนิธิสตรีอุดมศึกษาจนเป็นผลสำเร็จและยังใช้เป็นอาคารที่ทำงานของมูลนิธิฯ และสมาคมสตรีอุดมศึกษาแห่งประเทศไทยอยู่จนถึงปัจจุบันนี้
คุณหญิงมณีเมื่อครั้งเรียนที่[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] เคยมีใจโอนอ่อนที่จะเข้ารีตไปนับถือ[[ศาสนาคริสต์]][[นิกายโรมันคาทอลิก]] แต่ถูกพระยาราชานุประพันธ์ผู้บิดาทัดทานอย่างแข็งขันและบังคับให้ลาออกจากโรงเรียนเดิมเสีย หลังการมรณกรรมของบิดา คุณหญิงมณีได้เข้าเรียนที่โรงเรียนเซนต์แมรีส์ เอส.พี.จี. คุณหญิงมณีได้ตัดสินใจเข้ารีต[[นิกายโปรเตสแตนต์]] ตามที่ครูผู้สอนให้คำแนะนำให้กอปรกับความศรัทธาใน[[พระเยซู]]ของเธอ แต่ต่อมาภายหลังคุณหญิงมณีเห็นว่าความคิดเดิมของตนนั้นงมงาย จึงเปลี่ยนกลับมานับถือ[[ศาสนาพุทธ]]ตามเดิม และปฏิบัติตนตามคำสอนทางศาสนาเรื่อยมา<ref>มณี สิริวรสาร, คุณหญิง. ''ชีวิตเหมือนฝัน ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2''. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์, มมป. หน้า 91-102</ref>
 
== งานสาธารณประโยชน์ ==
คุณหญิง มณี สิริวรสาร และพลตรีนายแพทย์ ปชา สิริวรสาร ได้บริจาคทรัพย์สร้างตึกผู้ป่วยด้วย โรคหู คอ จมูก เป็นอาคาร 4 ชั้น มีห้องผ่าตัดทันสมัย มอบให้แก่[[โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า]] และได้ขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้ชื่อตึกว่า "ตึกศักดิเดชน์" ทั้งยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]] เสด็จฯ มาทรงทำพิธีเปิดตึกนี้ เมื่อ พ.ศ. 2514 ต่อมาได้บริจาคทรัพย์ส่วนหนึ่งร่วมสร้าง[[โรงพยาบาลสมเด็จพระปกเกล้าฯ]] ที่[[จังหวัดจันทบุรี]] และมอบเงินให้แก่กรมแพทย์ทหารบก จำนวน 1 ล้านบาทเป็นทุนจัดตั้งมูลนิธิ "ศักดิเดชน์" เพื่อจัดหาเครื่องมือแพทย์และใช้ในการดูแลบำรุงรักษาอาคารด้วย จัดตั้งมูลนิธิถวายไว้ที่วัดราชบพิธ เพื่อใช้ดอกผลเป็นปัจจัย 4 ถวายพระสงฆ์โดยสมทบทุนทุกปี ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
นอกจากนี้คุณหญิง มณี ยังได้ช่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์ตามสมาคมสตรีต่างๆ และเป็นกรรมการ อยู่หลายสมาคม ทั้งยังช่วยหาเงินปลูกสร้างอาคารให้กับมูลนิธิสตรีอุดมศึกษาจนเป็นผลสำเร็จและยังใช้เป็นอาคารที่ทำงานของมูลนิธิฯ และสมาคมสตรีอุดมศึกษาแห่งประเทศไทยอยู่จนถึงปัจจุบันนี้
คุณหญิง มณี สิริวรสาร ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อ [[พ.ศ. 2542]] สิริอายุ 85 ปี
 
==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==
เส้น 67 ⟶ 73:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* คุณหญิง มณี สิริวรสาร, ชีวิตเหมือนฝัน
 
{{เกิดปี|2458}}
{{ตายปี|2542}}
 
[[หมวดหมู่:คุณหญิง ]]
[[หมวดหมู่:หม่อม]]
[[หมวดหมู่:สกุลบุนนาค]]