ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ญาณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 81:
ความหมายและที่มาของวิปัสสนาญาณ ๑๖ ปรากฏในพระไตรปิฎก อรรถกถา และคัมภีร์วิสุทธิมรรค อย่างครบถ้วน เพียงแต่บางญาณ ถูกจัดรวมเข้าเป็นหมวดหมู่เดียวกัน โดยที่บางญาณใช้ชื่อแตกต่างกันบ้าง ดังต่อไปนี้
 
 
'''ญาณที่ ๑. นามรูปปริจเฉทญาณ''' ปัญญาที่กำหนดจนเห็นรูปและนามว่าเป็นคนละสิ่ง คนละส่วน รูปนามแยกออกจากกันและไม่ใช่สิ่งเดียวกัน ญาณนี้มาจากพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค โดยมีเนื้อหาสาระตรงกับชื่อ ธัมมัฏฐิติญาณ(ปัญญาในการกำหนดปัจจัย หรือญาณในการกำหนดที่ตั้งแห่งธรรม) ที่เป็นญาณที่ ๔ ในญาณ ๗๓ แต่เดิมมิได้เรียกว่า นามรูปปริจเฉทญาณ
'''ญาณที่ ๑. นามรูปปริจเฉทญาณ'''
'''ญาณที่ ๑. นามรูปปริจเฉทญาณ''' ปัญญาที่กำหนดจนเห็นรูปและนามว่าเป็นคนละสิ่ง คนละส่วน รูปนามแยกออกจากกันและไม่ใช่สิ่งเดียวกัน ญาณนี้มาจากพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค โดยมีเนื้อหาสาระตรงกับชื่อ ธัมมัฏฐิติญาณ(ปัญญาในการกำหนดปัจจัย หรือญาณในการกำหนดที่ตั้งแห่งธรรม) ที่เป็นญาณที่ ๔ ในญาณ ๗๓ แต่เดิมมิได้เรียกว่า นามรูปปริจเฉทญาณ
 
แต่ในพระไตรปิฎกอรรถกถาได้แยกขยาย ธัมมัฏฐิติญาณ ออกเป็น ๒ ญาณคือ นามรูปปริจเฉท และปัจจัยปริคคหญาณ โดยในอรรถกถาเรียกญาณที่ ๑ ว่า นามรูปววัตถานญาณ
เส้น 89 ⟶ 91:
เมื่อว่าโดยปรมัตถธรรม(ความจริงแท้) มีแต่เพียงรูปนามเท่านั้น สำหรับผู้ที่ เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน เมื่อได้ถึงญาณนี้ ก็จะเข้าใจแจ่มแจ้งด้วยตนเองว่า อัตตาตัวตนเป็นเพียงสภาวธรรม ไม่ยึดมั่นว่ามีอัตตาตัวตน
ในขณะนั่งสมาธิ การกำหนดพองหนอ ยุบหนอ นิ่งหนอ หรือเบ่งหนอ ได้ตามอารมณ์ที่เกิดขึ้นเท่ากับกำหนดรู้รูปรู้นามได้ จัดว่าได้ ญาณที่ ๑ แล้ว ในการเดินจงกรม ขณะกำหนดยกหนอหรือย่างหนอที่เท้า ความรู้สึกในอาการเคลื่อนไหวของเท้าเป็นรูป(อารมณ์) จิตที่ระลึกรู้พร้อมกำหนดอาการเป็นนาม ต่อมาเมื่อกำหนดยินหนอ คลื่นเสียงที่มากระทบเป็นรูป จิตที่ระลึกรู้คลื่นเสียง โดยกำหนดว่ายินหนอ(สักแต่ว่าเสียง)เป็นนาม และในขณะนั่งสมาธิ กำหนดอาการคันได้ว่าคันหนอนั้น อาการคันจัดเป็นรูป(อารมณ์) ส่วนจิตที่ระลึกรู้พร้อมกำหนดอาการเป็นนาม ดังนั้นการกำหนดได้ถูกต้องในขณะเดินและนั่งสมาธินับว่าได้ญาณที่ ๑ แล้ว
 
'''ญาณที่ ๒. ปัจจยปริคคหญาณ''' ปัญญาที่กำหนดจนรู้เห็นถึงปัจจัยที่เป็นเหตุให้เกิดรูปเกิดนาม คือรูปเกิดจาก กรรม จิต
ปัญญาที่กำหนดจนรู้เห็นถึงปัจจัยที่เป็นเหตุให้เกิดรูปเกิดนาม คือรูปเกิดจาก กรรม จิต อุตุ อาหาร ส่วนนามเกิดจากอารมณ์วัตถุ ญาณนี้มาจากพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค ชื่อว่า ธัมมัฏฐิติญาณ(ปัญญาในการกำหนดปัจจัย หรือญาณในการกำหนดที่ตั้งแห่งธรรม) ที่เป็นญาณที่ ๔ ในญาณ ๗๓ แต่เดิมมิได้เรียกว่า ปัจจยปริคคหญาณ ต่อมาคัมภีร์อรรถกถาได้ขยายความ และแยกธัมมัฏฐิติญาณ ออกเป็นญาณที่ ๑ และ ๒ ของวิปัสสนาญาณ ๑๖ โดยกำหนดชื่อ ปัจจยปริคคหญาณ ณ ที่นั้น
(ปัญญาในการกำหนดปัจจัย หรือญาณในการกำหนดที่ตั้งแห่งธรรม) ที่เป็นญาณที่ ๔ ในญาณ ๗๓ แต่เดิมมิได้เรียกว่า ปัจจยปริคคหญาณ ต่อมาคัมภีร์อรรถกถาได้ขยายความ และแยกธัมมัฏฐิติญาณ ออกเป็นญาณที่ ๑ และ ๒ ของวิปัสสนาญาณ ๑๖ โดยกำหนดชื่อ ปัจจยปริคคหญาณ
ณ ที่นั้น
ในขณะนั่งสมาธิ โยคีกำหนดไปที่อาการเคลื่อนไหวของท้องว่า พองหนอ บางครั้งการกำหนดพองหนอก่อนอาการพอง หรือไปรออาการพองล่วงหน้า นี่เรียกว่า นามเป็นเหตุ รูปเป็นผล แต่บางครั้งการกำหนดพองหนอได้ช้ากว่าอาการพอง นี่คือรูปเป็นเหตุ นามเป็นผล เมื่อปฏิบัติไปได้ระยะหนึ่ง ผู้ปฏิบัติจะสามารถแยกรูปแยกนามได้อย่างชัดเจน และอาจเข้าถึงสภาวธรรมของรูปนาม ในขณะเดินจงกรมเช่น เมื่อคิดว่าอยากให้เท้าเคลื่อนย่างไปเร็ว เท้าจะเคลื่อนไปเร็วเอง หรือคิดว่าอยากให้เท้าเคลื่อนย่างไปช้า เท้าจะเคลื่อนไปช้าเอง ตามที่จิตสั่ง(นามเป็นปัจจัยให้รูป)ได้อย่างชัดเจน พร้อมกับเกิดความเข้าใจว่ารูปและนามเป็นคนละอันกัน เนื่องจากตั้งแต่เกิดจนถึงปัจจุบัน เหตุปัจจัยของรูปนามได้ปรากฏสืบต่อกัน อย่างไม่ขาดสายทุกขณะจิต ในวิปัสสนาญาณที่ ๑ และ ๒ จัดเป็นวิปัสสนาอย่างอ่อน แต่ยังไม่นับว่าเป็นขั้นของภาวนามยปัญญา
 
'''ญาณที่ ๓. สัมมสนญาณ''' ปัญญาของจิตกำหนดจนเริ่มรู้เห็นไตรลักษณ์ คือความเกิดดับของรูปนาม แต่ที่รู้ว่ารูปนามดับไป เพราะเห็นรูปนามใหม่เกิดสืบต่อแทนขึ้นมาแล้ว เห็นอย่างนี้เรียกว่า สันตติยังไม่ขาดและยังอาศัยจินตามยปัญญาอยู่ อีกนัยหนึ่งอธิบายว่า สัมมสนญาณ เป็นญาณที่ยกรูปนามขึ้นสู่ไตรลักษณ์ โดยมีชื่อเรียกอีกอย่างว่า ติลักขณปฏิเวธสัมมสนญาณ ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๕ ของญาณ ๗๓)
 
'''ญาณที่ ๓. สัมมสนญาณ'''
ส่วนในคัมภีร์วิสุทธิมรรคแสดงไว้ว่า “กลาปสัมมสนญาณ เป็นญาณตั้งต้น ของวิปัสสนาญาณ”
'''ญาณที่ ๓. สัมมสนญาณ''' ปัญญาของจิตกำหนดจนเริ่มรู้เห็นไตรลักษณ์ คือความเกิดดับของรูปนาม แต่ที่รู้ว่ารูปนามดับไป เพราะเห็นรูปนามใหม่เกิดสืบต่อแทนขึ้นมาแล้ว เห็นอย่างนี้เรียกว่า สันตติยังไม่ขาดและยังอาศัยจินตามยปัญญาอยู่ อีกนัยหนึ่งอธิบายว่า สัมมสนญาณ เป็นญาณที่ยกรูปนามขึ้นสู่ไตรลักษณ์ โดยมีชื่อเรียกอีกอย่างว่า ติลักขณปฏิเวธสัมมสนญาณ ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๕ ของญาณ ๗๓)
โยคีเริ่มกำหนดอารมณ์ได้มากขึ้น เริ่มจะเท่าทันอารมณ์ต่างๆ แต่ความเท่าทันนั้นยังไม่ปรากฏชัดเจน มีกำลังอ่อน และมีความล่าช้าอยู่ เพราะกำหนดยังไม่ได้ปัจจุบัน โดยอารมณ์จะตั้งอยู่สักระยะ จึงจะกำหนดตัดอารมณ์ได้เช่น ขณะกำหนดความคิด จิตยังไหลปรุงแต่งไปกับ ความคิดสักครู่ ก่อนที่จะกำหนดคิดหนอได้ทัน ญาณที่ ๓ นี้จัดเป็นเพียงเขตสมถ ยังไม่ได้ยกขึ้นสู่วิปัสสนา
 
ส่วนในคัมภีร์วิสุทธิมรรคแสดงไว้ว่า “กลาปสัมมสนญาณ เป็นญาณตั้งต้น ของวิปัสสนาญาณ” โยคีเริ่มกำหนดอารมณ์ได้มากขึ้น เริ่มจะเท่าทันอารมณ์ต่างๆ แต่ความเท่าทันนั้นยังไม่ปรากฏชัดเจน มีกำลังอ่อน และมีความล่าช้าอยู่ เพราะกำหนดยังไม่ได้ปัจจุบัน โดยอารมณ์จะตั้งอยู่สักระยะ จึงจะกำหนดตัดอารมณ์ได้เช่น ขณะกำหนดความคิด จิตยังไหลปรุงแต่งไปกับ ความคิดสักครู่ ก่อนที่จะกำหนดคิดหนอได้ทัน ญาณที่ ๓ นี้จัดเป็นเพียงเขตสมถ ยังไม่ได้ยกขึ้นสู่วิปัสสนา
 
 
'''ญาณที่ ๔. อุทยัพพยญาณ'''
'''ญาณที่ ๔. อุทยัพพยญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นไตรลักษณ์ชัดเจน อีกทั้งเห็นรูปนามดับไปในทันทีที่ดับ และเห็นรูปนามเกิดขึ้นในขณะที่เกิด(เห็นทันทั้งในขณะที่เกิดขึ้น และขณะที่ดับไป) อุทยัพพยญาณมี ๒ ระดับคือตรุณอุทยัพพยญาณ เป็นญาณที่ยังอ่อนอยู่ และพลวอุทยัพพยญาณเป็นญาณที่แก่กล้าแล้ว ชื่อญาณนี้ปรากฏทั้งในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๖ ของญาณ ๗๓) และในคัมภีร์อรรถกถาด้วย
สภาวะธรรมของญาณระดับอ่อน(ตรุณะ) และญาณ ระดับแก่(พลวะ) ในญาณที่ ๔ มีดังนี้
ในระดับ(ตรุณะ) โยคีกำหนดรู้สภาวะต่างๆ ของรูปนาม แล้วเห็นชัดว่า สภาวะดับหายไปเร็วขึ้นกว่าเดิม แม้แต่เวทนาที่เกิดขึ้น เมื่อกำหนดก็หายไปเร็วขึ้น ผู้ปฏิบัติมักจะเห็นสภาวะที่แปลกๆ มีภาพปรากฏให้เห็นมีแสงสว่างเข้ามาปรากฏอยู่บ่อยๆ (โอภาส) เนื่องจากโยคีไม่เคยเห็นแสงสว่างเช่นนี้มาก่อน ก็อาจจะสนใจดูหรืออาจเข้าใจผิดว่าได้บรรลุมรรค ผล นิพพาน ก็เป็นได้
 
เส้น 156 ⟶ 160:
๕. '''นิมิตภาพล้าง''' เป็นนิมิตที่มาทำลายล้างผลาญการปฏิบัติเช่น เปรตมาขอส่วนบุญ หรือ เทวดามิจฉาทิฏฐิมาหลอกหลอน ด้วยหน้าตาน่าเกลียดน่าสพึงกลัว
 
นิมิตเหล่านี้ทำให้หายไปได้ด้วยเหตุ ๒ ประการ คือการแผ่เมตตาอุทิศส่วนกุศล และการเจริญวิปัสสนา มีสติปัญญากำหนดรูปนาม ได้ทันปัจจุบันอารมณ์ โดยปล่อยวางไม่ยึดติดในนิมิต ซึ่งทำให้ภาพนิมิตทุกอย่างดับหายไปได้ เมื่อโยคีได้กัลยาณมิตร ก็จะสามารถฟันฝ่าเอาชนะวิปัสสนูปกิเลส และข้ามพ้นนิมิตต่างๆ ทำให้การปฏิบัติดำเนินต่อไป
เมื่อโยคีได้กัลยาณมิตร ก็จะสามารถฟันฝ่าเอาชนะวิปัสสนูปกิเลส และข้ามพ้นนิมิตต่างๆ ทำให้การปฏิบัติดำเนินต่อไป
 
ครั้นปฏิบัติมาถึง ญาณระดับอุทยัพพยญาณอย่างแก่(พลวะ) โยคีจึงจะสามารถกำหนดรูปนาม และเห็นไตรลักษณ์ได้ชัดขึ้น ตามความเป็นจริง ครั้นถึงพลวอุทยัพพยญาณ สติปัฏฐานเริ่มมีพละกำลัง และเป็นปัจจัยทำให้ โพชฌงค์ ๗ (ปีติ ปัสสัทธิ วีริยะ สติ สมาธิ ปัญญา และอุเบกขา)เริ่มเกิดขึ้น ซึ่งการเกิดขึ้นขององค์ธรรมในโพชฌงค์ทั้ง ๗ ยังไม่เท่าหรือเสมอกันในญาณนี้ หากปฏิบัติได้ผลต่อไปโพชฌงค์ ๗ จะค่อยๆ บริบูรณ์เสมอกันเอง
 
การกำหนดในญาณนี้จะเริ่มคล่องขึ้น และทันอารมณ์ขึ้นกว่าก่อน โดยจะเห็นอารมณ์ที่มีการเกิดและดับไป แต่ยังช้าอยู่ ซึ่งอารมณ์ที่กำหนดได้จะไม่ตั้งอยู่นานเหมือนแต่ก่อน จิตที่รับอารมณ์เริ่มทำงานอย่างเป็นธรรมชาติ อีกทั้งอารมณ์ปรมัตถ์ และความเป็นอนัตตาเริ่มปรากฏหรือแสดงให้เห็น
 
'''ญาณที่ ๕. ภังคญาณ'''
'''ญาณที่ ๕. ภังคญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นความดับไปแต่อย่างเดียว ญาณนี้อยู่ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๗ ของญาณ ๗๓) โดยมิได้เรียกชื่อว่า ภังคญาณ เพียงแต่ให้ความหมายว่าเป็นปัญญา เห็นความแตกไปเท่านั้น แต่ในคัมภีร์อรรถกถาได้แสดงและให้ชื่อญาณนี้ว่า“ภังคานุปัสสนาญาณ”
 
สาระสำคัญของญาณนี้ก็คืออารมณ์ที่เป็นบัญญัติ ถูกเพิกถอนจนหายไปหมด ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติเห็นแต่อารมณ์ ที่เป็นปรมัตถ์ล้วนๆ ปรากฏขึ้นมาแทน อีกทั้งยังตัดนิวรณ์ ๕ (กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา)ได้อย่างสมบูรณ์ จิตเริ่มแสดงอารมณ์ปรมัตถ์แท้ๆ และเห็นความเป็นอนัตตา ของจิตชัดเจนขึ้น สติปัฏฐานเริ่มทำงานได้คล่องแคล่ว และกำหนดทันรูปนามได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดยมีเพียงอารมณ์ที่ดับและหายไป อย่างไรก็ดีภังคญาณ เป็นอารมณ์ดับที่มีการเกิดอยู่ ยังไม่ใช่การดับของผลสมาบัติ หรือนิโรธสมาบัติ
 
สาระสำคัญของญาณนี้ก็คืออารมณ์ที่เป็นบัญญัติ ถูกเพิกถอนจนหายไปหมด ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติเห็นแต่อารมณ์ ที่เป็นปรมัตถ์ล้วนๆ ปรากฏขึ้นมาแทน อีกทั้งยังตัดนิวรณ์ ๕ (กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา)ได้อย่างสมบูรณ์
จิตเริ่มแสดงอารมณ์ปรมัตถ์แท้ๆ และเห็นความเป็นอนัตตา ของจิตชัดเจนขึ้น สติปัฏฐานเริ่มทำงานได้คล่องแคล่ว และกำหนดทันรูปนามได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดยมีเพียงอารมณ์ที่ดับและหายไป อย่างไรก็ดีภังคญาณ เป็นอารมณ์ดับที่มีการเกิดอยู่ ยังไม่ใช่การดับของผลสมาบัติ หรือนิโรธสมาบัติ
 
'''ญาณที่ ๖. ภยญาณ'''
'''ญาณที่ ๖. ภยญาณ''' บ้างก็เรียกว่าภยตูปัฏฐานญาณ ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า รูปนามนี้มีแต่แตกดับไปอย่างเดียว ซึ่งตกอยู่ในสภาวะที่น่าหวาดเสียว และน่าสะพรึงกลัวเหมือนคนกลัวสัตว์ร้าย ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๘ ของญาณ ๗๓) คือ อาทีนวญาณ ซึ่งได้รวมวิปัสสนาญาณที่ ๖, ๗ และ ๘ เข้าด้วยกัน ส่วนในคัมภีร์อรรถกถา ได้แยกแสดงภยญาณ ไว้เป็นญาณแรกใน ๓ ญาณของอาทีนวญาณ
ผู้ที่ถึงญาณนี้ได้ ต้องปฏิบัติจนทำให้อินทรีย์เกิดความสมดุล ในการกำหนดอารมณ์ ภายในและภายนอก โดยที่อินทรีย์ของสมาธิ ไม่มากเกินไป แม้ว่าอารมณ์ที่กำหนดจะเริ่มเปลี่ยนแปลงแปลกไปจากเดิม จนบางครั้งอาจสงสัยผุดคิดขึ้นว่าทำไมรูปนาม หรืออารมณ์ที่กำหนดอยู่เป็นเช่นนี้ เพราะผิดจากเดิมที่เคยเริ่มฝึก และผิดจากธรรมชาติที่เคยเป็น
 
ในบางครั้งอาจจะมีอารมณ์ของภยญาณผุดขึ้นมา ในขณะปฏิบัติได้ ช่วงนี้โยคียังกำหนดได้คล่องเพลิดเพลิน โล่ง โปร่ง และเบาสบาย จนรู้สึกว่านั่งไป ๓๐ นาทีนั้น เวลาผ่านไปเหมือนไม่นาน เพราะโยคีกำหนดได้อารมณ์ปัจจุบันจริงๆ จนความคิดและการปรุงแต่ง แทบไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเลย
 
 
'''ญาณที่ ๗. อาทีนวญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า รูปนามนี้ไม่มีสาระแก่นสารอะไร ไม่มีสิ่งที่น่าชื่นชม มีแต่ความโดดเดี่ยวและมีแต่ทุกข์โทษภัย เหมือนผู้ที่เห็นไฟกำลังไหม้เรือนตนอยู่ จึงคิดหนีจากเรือนนั้น ญาณนี้ปรากฏทั้งในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๘ ของญาณ ๗๓) และคัมภีร์อรรถกถา
'''ญาณที่ ๗. อาทีนวญาณ'''
'''ญาณที่ ๗. อาทีนวญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า รูปนามนี้ไม่มีสาระแก่นสารอะไร ไม่มีสิ่งที่น่าชื่นชม มีแต่ความโดดเดี่ยวและมีแต่ทุกข์โทษภัย เหมือนผู้ที่เห็นไฟกำลังไหม้เรือนตนอยู่ จึงคิดหนีจากเรือนนั้น ญาณนี้ปรากฏทั้งในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๘ ของญาณ ๗๓) และคัมภีร์อรรถกถา
โยคีกำหนดได้เท่าทันยิ่งขึ้นกว่าก่อน แม้รูปนามจะปรากฏขึ้นเร็ว และพิสดารเป็นอย่างมาก แต่โยคียังกำหนดได้ดี ไม่ว่ารูปนามจะเป็นอย่างไร โดยอารมณ์ภายในจิต ขณะนั่งสมาธิที่กำหนดอยู่ชัดเจนมาก จนคล้ายกับเห็นได้ด้วยตา ในญาณนี้จิตมีอารมณ์ที่เบาสบาย และคล่องแคล่วเป็นที่สุด อย่างที่ไม่เคยเห็นมาก่อน อีกทั้งยังกำหนดได้เท่าทันอย่างเป็นธรรมชาติ ตามความเป็นจริง โดยรู้สึกเหมือนเวลาผ่านไปรวดเร็วมาก จนคล้ายชั่วครู่เดียวแม้ว่าจะนั่งไป ๓๐ หรือ ๔๕ นาทีก็ตาม บางครั้งอาจเกิดอารมณ์ของอาทีนวญาณผุดขึ้นได้ หากกำหนดได้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง และเท่าทันทุกอารมณ์ โดยไม่ไปบังคับ หรือฝืนธรรมชาติของรูปนามแล้ว โยคีจะก้าวหน้าสู่ญาณที่สูงขึ้นไปในไม่ช้า
 
'''ญาณที่ ๘. นิพพิทาญาณ'''
'''ญาณที่ ๘. นิพพิทาญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า เกิดความเบื่อหน่ายในรูปนาม และในขันธ์ ๕ (รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ) ความเบื่อหน่ายจะเป็นอารมณ์ที่ผุดขึ้นเอง ในระหว่างการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ที่มิใช่เกิดขึ้นจาก การนึกคิดเอาเองด้วยกิเลส ญาณนี้ปรากฏทั้งในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๘ ของญาณ ๗๓) และคัมภีร์อรรถกถา
จิตเริ่มเบื่อหน่ายในรูปนาม และไม่อยากไปจับต้องสัมผัสรูปนามใดๆ อุปมาคล้ายกับคนที่กลัวเสือ แล้วหลบอยู่ข้างใน และไม่กล้าโผล่ออกมานอกถ้ำ ซึ่งทำให้โยคีรู้สึกว่า ขณะนี้ไม่สามารถปฏิบัติได้ง่ายเหมือนเก่าเลย จนคล้ายกับทำไม่ได้ อยากเลิกทำ รู้สึกท้อแท้ ไม่เบิกบานร่าเริง เบื่อหน่ายต่อการปฏิบัติ บางคนถึงกับเลื่อนการปฏิบัติออกไป หรืออาจหยุดปฏิบัติ และคิดว่าค่อยมาทำต่อภายหลัง ซึ่งโดยรวมแล้วปฏิบัติผ่านได้ยาก แต่จิตก็ไม่มีทางหนีออกจากรูปนามได้
เส้น 184 ⟶ 194:
ดังนั้นจึงต้องอดทนปฏิบัติต่อไปตามคำแนะนำ และการให้กำลังใจของวิปัสสนาจารย์เท่านั้น ที่จะช่วยให้มีความเข้าใจ และทำให้ข้ามพ้นญาณนี้ไปได้ บางครั้งโยคีที่เกิดอาการเบื่อในการปฏิบัติ โดยที่ไม่เคยปฏิบัติผ่านสภาวะธรรม ของวิปัสสนาญาณที่ ๓ ถึง ๗ อาการนั้นจัดว่า เป็นความเบื่อจากความคิดหรือกิเลส ไม่ใช่จากนิพพิทาญาณ
 
 
'''ญาณที่ ๙. มุญจิตุกัมยตาญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า ปรารถนาที่จะหนีออกจากรูปนาม และใคร่จะพ้นจากขันธ์ ๕ ญาณนี้ปรากฏทั้งในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๙ ของญาณ ๗๓) ซึ่งได้รวมวิปัสสนาญาณที่ ๙, ๑๐ และ ๑๑ ไว้ด้วยกันในสังขารุเปกขาญาณ แต่ในคัมภีร์อรรถกถา ได้ปรากฏชื่อและเรียกว่า มุญจิตุกัมยตาญาณ เป็นญาณที่อยากหลุดพ้น และหนีไปจากรูปนาม แต่ก็หนีไปไหนไม่ได้ เพราะมีเพียงแต่รูปนามเท่านั้น และยังต้องเจริญวิปัสสนาต่อไปอีก
'''ญาณที่ ๙. มุญจิตุกัมยตาญาณ'''
'''ญาณที่ ๙. มุญจิตุกัมยตาญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า ปรารถนาที่จะหนีออกจากรูปนาม และใคร่จะพ้นจากขันธ์ ๕ ญาณนี้ปรากฏทั้งในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๙ ของญาณ ๗๓) ซึ่งได้รวมวิปัสสนาญาณที่ ๙, ๑๐ และ ๑๑ ไว้ด้วยกันในสังขารุเปกขาญาณ แต่ในคัมภีร์อรรถกถา ได้ปรากฏชื่อและเรียกว่า มุญจิตุกัมยตาญาณ เป็นญาณที่อยากหลุดพ้น และหนีไปจากรูปนาม แต่ก็หนีไปไหนไม่ได้ เพราะมีเพียงแต่รูปนามเท่านั้น และยังต้องเจริญวิปัสสนาต่อไปอีก
 
หลังจากที่จิตเบื่อหน่ายในรูปนามแล้ว จิตไม่มีทางออกอื่นใดนอกเสียจากการยึดรูปนามเป็นอารมณ์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์อันเดียว ที่ใช้นำพาให้จิตพ้นจากรูปนามหรือความทุกข์ โดยมีเป้าหมายคือพระนิพพาน ปัญญาของจิตที่เกิดขึ้นเองในญาณนี้ จำเป็นต้องยึดรูปนาม แม้ว่าจะมีอยู่เพียงอย่างเดียว ซึ่งจะอยู่เฉยต่อไปไม่ได้ จำต้องสัมผัสแบบแลบออกไปสู่รูปนามอย่างเสียไม่ได้ อุปมาคล้ายกับคนที่เอามือ ไปแตะผิวกาต้มน้ำร้อนเพียงนิดเดียว เพื่อทดสอบว่าร้อนเท่าใด
 
'''ญาณที่ ๑๐. ปฏิสังขาญาณ'''
'''ญาณที่ ๑๐. ปฏิสังขาญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนด จนรู้เห็นเพื่อหาทางที่จะหนีออกจากรูปนาม โดยหาอุบายที่จะเปลื้องตน ให้พ้นจากขันธ์ ๕ ญาณนี้ปรากฏทั้งในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๙ ของญาณ ๗๓) และในคัมภีร์อรรถกถา ส่วนในคัมภีร์วิสุทธิมรรคใช้ชื่อว่า ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ
ครั้นจิตจำต้องใช้รูปนามเป็นฐาน เพื่อมุ่งสู่ทางพ้นทุกข์ รูปนามเท่านั้นที่เป็นพาหนะอย่างเดียว เพื่อนำไปสู่เป้าหมาย ดังนั้นจิตจึงจำเป็นต้องยึดรูปนาม เป็นฐานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยสามารถกำหนดเห็นพระไตรลักษณ์ของรูปนาม(เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป) ได้ชัดเจนอีกครั้งหนึ่งด้วยความเร็วช้าๆ อย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากรูปนามนี้เป็นพาหนะสำคัญอย่างเดียว ที่ใช้นำไปสู่อารมณ์พระนิพพาน
 
 
'''ญาณที่ ๑๑. สังขารุเบกขาญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า จะหนีไปไหนก็ไม่พ้น เพราะมีแต่การปรากฏของรูปนาม จิตจึงกำหนดรู้ด้วยความวางเฉยได้ และไม่ยินดียินร้ายในรูปนามใดๆ ญาณนี้ปรากฏทั้งในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๙ ของญาณ ๗๓) และในคัมภีร์อรรถกถาเช่นกัน ญาณนี้จัดว่าได้ถึงที่สุดแล้ว และมีอีกชื่อว่า สิขาปัตตสังขารุเปกขา เพราะเป็นสุดยอดของโลกียญาณ
'''ญาณที่ ๑๑. สังขารุเบกขาญาณ'''
'''ญาณที่ ๑๑. สังขารุเบกขาญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นว่า จะหนีไปไหนก็ไม่พ้น เพราะมีแต่การปรากฏของรูปนาม จิตจึงกำหนดรู้ด้วยความวางเฉยได้ และไม่ยินดียินร้ายในรูปนามใดๆ ญาณนี้ปรากฏทั้งในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๙ ของญาณ ๗๓) และในคัมภีร์อรรถกถาเช่นกัน ญาณนี้จัดว่าได้ถึงที่สุดแล้ว และมีอีกชื่อว่า สิขาปัตตสังขารุเปกขา เพราะเป็นสุดยอดของโลกียญาณ
 
เมื่อจิตยึดรูปนามเป็นอารมณ์ โดยกำหนดอารมณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย สม่ำเสมอ เพลิดเพลิน คล่องแคล่ว ง่ายดายอย่างยิ่ง และใจสงบดีเป็นที่สุด ในขณะเดียวกันยังสามารถกำหนดสภาวะต่างๆ ได้ดีมากโดยไม่ยินดียินร้ายต่อทุกขเวทนา หรือสุขเวทนา ได้ทั้งเร็วและช้า ได้ทั้งชัดและเบลอ ด้วยความสงบวางเฉยต่อทุกอารมณ์อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่เผลอสติจากรูปนาม จิตมีพละกำลังต่อความเพียรกำหนด เต็มที่อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งทำให้นิวรณ์ทั้งหลายสงบลง จนในที่สุดกำหนดรูปนามได้ดีเยี่ยม พร้อมกับนั่งสมาธิได้ยาวนานกว่าปกติ เช่น ๑, ๒ หรือ ๓ ชั่วโมง
เส้น 224 ⟶ 240:
หลังจากคำอธิษฐาน คำขออโหสิกรรมและคำถอนพุทธภูมิ ผู้ปฏิบัติที่มีอินทรีย์ ๕ สมดุลแล้วสภาวะธรรมจะเริ่มพัฒนา และเกิดสภาวะธรรมของรูปนามใหม่ๆ ที่ไม่เหมือนเดิมทันที ทำให้ก้าวหน้าต่อไปสู่ญาณที่สูงขึ้น
 
 
'''ญาณที่ ๑๒. อนุโลมญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็น ในการคล้อยตามรูปนาม จากลำดับญาณเริ่มต้น จนถึงญาณสูงสุด (น้อยไปหามาก) ซึ่งญาณนี้มีอีกชื่อว่าสัจจานุโลมิกญาณ ญาณนี้ได้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๔๑ ของญาณ ๗๓) ที่เรียกว่า ขันติญาณ ส่วนในคัมภีร์อรรถกถาใช้ชื่อเดียวกันว่า อนุโลมญาณ สัจจานุโลมิกญาณหรืออนุโลมญาณ เหมือนกันกับขันติญาณ เนื่องจากญาณนี้อยู่ติดกับอริยมรรค จึงมีชื่ออีกอย่างว่า วุฏฐานคามินีวิปัสสนา ที่หมายถึงวิปัสสนาที่กำลัง จะเข้าถึงอริยมรรค ประกอบด้วยญาณทั้ง ๓ คือสังขารุเปกขาญาณ อนุโลมญาณ และโคตรภูญาณ
'''ญาณที่ ๑๒. อนุโลมญาณ'''
'''ญาณที่ ๑๒. อนุโลมญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็น ในการคล้อยตามรูปนาม จากลำดับญาณเริ่มต้น จนถึงญาณสูงสุด (น้อยไปหามาก) ซึ่งญาณนี้มีอีกชื่อว่าสัจจานุโลมิกญาณ ญาณนี้ได้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๔๑ ของญาณ ๗๓) ที่เรียกว่า ขันติญาณ ส่วนในคัมภีร์อรรถกถาใช้ชื่อเดียวกันว่า อนุโลมญาณ สัจจานุโลมิกญาณหรืออนุโลมญาณ เหมือนกันกับขันติญาณ เนื่องจากญาณนี้อยู่ติดกับอริยมรรค จึงมีชื่ออีกอย่างว่า วุฏฐานคามินีวิปัสสนา ที่หมายถึงวิปัสสนาที่กำลัง จะเข้าถึงอริยมรรค ประกอบด้วยญาณทั้ง ๓ คือสังขารุเปกขาญาณ อนุโลมญาณ และโคตรภูญาณ
 
โยคีที่ติดค้างอยู่ในญาณที่ ๑๑ หลังจากอธิษฐานจิตถอนพุทธภูมิ และขอขมาแล้ว โยคีจะเกิดสภาวธรรมใหม่ๆ ทำให้จิตเคลื่อน ขึ้นสู่ญาณที่ ๑๒ ได้ เมื่อจิตได้ใช้พาหนะ คือรูปนามที่พัฒนาจนปัญญามาถึงจุดสูงสุดแล้ว แต่ด้วยกำลังที่ยังไม่เพียงพอ ที่จะสลัดทิ้งรูปนาม ในการเข้าสู่อารมณ์พระนิพพาน จิตต้องอาศัยความบริบูรณ์ในการทบทวนของญาณ โดยถอยกลับไปเริ่มต้น ในญาณต่ำขึ้นไปสู่ญาณสูง ตั้งแต่อุทยัพพยญาณ(๔) ถึงสังขารุเบกขาญาณ(๑๑) ที่โยคีเคยผ่านมาแล้วอีกรอบหนึ่ง โดยมีรูปนามหรือสังขารเป็นอารมณ์ และจะไม่ถอยกลับสู่ญาณเบื้องต่ำอีกแล้ว จากนั้นจิตจะรวบรวมพละกำลังเป็นครั้งสุดท้าย ด้วยโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการที่ประชุมพร้อมกัน และมีอินทรีย์เต็มเปี่ยมจากธรรมสมังคี เสมอกันในขณะจิตเดียว เพื่อเป็นฐานผลักดันจิตให้เคลื่อนเข้าสู่อารมณ์พระนิพพาน
 
 
'''ญาณที่ ๑๓. โคตรภูญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นพระนิพพาน ที่ตัดขาดจากโคตรปุถุชน เปลี่ยนเป็นโคตรอริยชน ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๑๐ ของ ญาณ ๗๓)
'''ญาณที่ ๑๓. โคตรภูญาณ'''
'''ญาณที่ ๑๓. โคตรภูญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็นพระนิพพาน ที่ตัดขาดจากโคตรปุถุชน เปลี่ยนเป็นโคตรอริยชน ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๑๐ ของ ญาณ ๗๓)
ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๑๐ ของ ญาณ ๗๓)
 
สภาวะจิตของโยคีจะมีนิพพานเป็นอารมณ์ เพื่อข้ามพ้นโคตรปุถุชน บรรลุถึงอริยชน โดยไม่หวนกลับไปอีก ถ้าปฏิบัติต่อจนได้บรรลุถึง พระสกิทาคามี, พระอนาคามี และพระอรหันต์ เมื่อมาถึงญาณนี้ จะเรียกว่า โวทานโคตร ไม่เรียกว่า โคตรภู เพราะท่านได้เคยปฏิบัติ ข้ามโคตรปุถุชน เป็นอริยชนมาก่อนแล้วในรอบแรก
เส้น 246 ⟶ 267:
๓. รูปนามแสดงให้เห็นถึงความไม่มีตัวตน โดยรูปนามจะแผ่วเบาละเอียดจนถึงที่สุด สำหรับผู้ที่เคยสะสมบารมีทางปัญญามาก่อน เรียกว่าเข้าทาง'''อนัตต'''า ด้วยการหลุดพ้นทาง '''สุญญตวิโมกข์'''
 
 
'''ญาณที่ ๑๔. มัคคญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็น พระนิพพาน และตัดกิเลสได้ ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๑๑ ของญาณ ๗๓) โดยที่โยคีได้เสวย และเข้าถึงอารมณ์พระนิพพานเป็นครั้งแรก รูปนามจะดับไปหมดในญาณนี้ หมดความสงสัยในพระรัตนตรัยโดยสิ้นเชิง และมีศีล ๕ มั่นคงเป็นนิจ
'''ญาณที่ ๑๔. มัคคญาณ'''
'''ญาณที่ ๑๔. มัคคญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็น พระนิพพาน และตัดกิเลสได้ ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๑๑ ของญาณ ๗๓) โดยที่โยคีได้เสวย และเข้าถึงอารมณ์พระนิพพานเป็นครั้งแรก รูปนามจะดับไปหมดในญาณนี้ หมดความสงสัยในพระรัตนตรัยโดยสิ้นเชิง และมีศีล ๕ มั่นคงเป็นนิจ
 
กิเลสบางส่วนถูกประหารไปอย่างถาวร เป็นสมุจเฉทปหาน แต่ยังมีกิเลส ๓ (โมหะ โลภะ โทสะ) หลงเหลืออยู่ ยกเว้นพระอรหันต์ โดยสามารถปิดอบายภูมิได้เด็ดขาด และจะไม่ไปเกิดในอบายภูมิ ๔ (สัตว์นรก เปรต อสุรกาย และสัตว์เดรัจฉาน) ซึ่งคล้ายกับการนำจิตสู่เบื้องลึก เพื่อปรับเปลี่ยนและพัฒนาจิตใต้สำนึกตามแนวจิตวิทยาตะวันตก
เส้น 260 ⟶ 283:
๓. '''อนุสัยกิเลส''' เป็นกิเลสอย่างละเอียดซึ่งอยู่ในจิตตสันดาน ขณะใดไม่มีอารมณ์กระทบ ขณะนั้นกิเลสชนิดนี้ ก็จะสงบนิ่งอยู่ในใจ ไม่แสดงอาการออกมาให้ตนเองหรือคนอื่นรู้ได้ แต่เมื่อมีอารมณ์กระทบจึงจะแสดงอาการออกมา กิเลสชนิดนี้สามารถประหารได้ด้วยปัญญา หรือมัคคญาณ เป็นการประหารอย่างเด็ดขาดเรียกว่า สมุจเฉทปหาน
 
 
'''ญาณที่ ๑๕. ผลญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็น พระนิพพานโดยเสวยผลแห่งสันติสุข ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๑๒ ของญาณ ๗๓) โยคีที่ถึงญาณนี้ แม้กิเลสจะถูกประหารไปได้อย่างเด็ดขาด ด้วยมัคคญาณ แต่อำนาจของกิเลสยังคงเหลืออยู่ ผู้ที่มีโทสะและโลภะมาก ก่อนเข้าปฏิบัติจะรู้ชัดเจนว่าตัวเองมีโทสะ และโลภะลดลงไปอย่างมาก แต่ผู้ที่เคยมีโทสะและโลภะน้อย อาจสังเกตเห็นการพัฒนาจิตหรือผลที่ได้ไม่ค่อยชัดเจนก็มี
'''ญาณที่ ๑๕. ผลญาณ'''
'''ญาณที่ ๑๕. ผลญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็น พระนิพพานโดยเสวยผลแห่งสันติสุข ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๑๒ ของญาณ ๗๓) โยคีที่ถึงญาณนี้ แม้กิเลสจะถูกประหารไปได้อย่างเด็ดขาด ด้วยมัคคญาณ แต่อำนาจของกิเลสยังคงเหลืออยู่ ผู้ที่มีโทสะและโลภะมาก ก่อนเข้าปฏิบัติจะรู้ชัดเจนว่าตัวเองมีโทสะ และโลภะลดลงไปอย่างมาก แต่ผู้ที่เคยมีโทสะและโลภะน้อย อาจสังเกตเห็นการพัฒนาจิตหรือผลที่ได้ไม่ค่อยชัดเจนก็มี
 
ในญาณนี้ โยคีเริ่มกลับมามีรูปนามเป็นอารมณ์อีกครั้ง และได้เสวยอารมณ์ของสมาธิสุขอย่างเต็มเปี่ยมที่เรียกว่า การเสวยผล (การเสวยอารมณ์) หลังออกจากอารมณ์พระนิพพาน การเสวยผลของแต่ละท่าน จะกินระยะเวลานานไม่เท่ากัน แต่อารมณ์ขณะนั้น จิตจะมีแต่ความสงบสุขเรียกว่าสมาธิสุขสมบูรณ์ เพราะจิตกลับมามีรูปนามเป็นอารมณ์อีกครั้ง หลังจากที่ได้บรรลุถึง นิพพานสุขซึ่งความสุขทั้ง ๒ ชนิดเป็นความสุขที่สูงกว่ากามสุข(ความสุขทางโลก) และมีผลทำให้ผู้ปฏิบัติมีหน้าตาผิวพรรณผ่องใส อินทรีย์บริสุทธิ์ผุดผ่อง มีน้ำมีนวลเปล่งปลั่ง อิ่มเอิบ สงบร่มเย็นทางใจเป็นที่สุด
เส้น 303 ⟶ 328:
การเข้านิโรธในมนุษยภูมินั้นเข้าได้เพียง ๗ วัน แต่ในรูปพรหมนั้นไม่จำกัดเวลา ถ้าต้องการเข้านานเท่าใดก็ทำได้ แต่การเข้านิโรธสมาบัติต้องเข้าฌานก่อน โดยเข้าตั้งแต่ปฐมฌาน, ทุติยฌาน, ตติยฌานและจตุตถฌาน(รูปฌาน ๔) แล้วต่ออรูปฌานอีก ๔ รวมเป็นสมาบัติ ๘ ประการ แล้วจึงเข้านิโรธสมาบัติ แต่ทุกๆ ฌานที่เข้าต้องมีวิปัสสนาประกอบไปด้วยเสมอ
 
 
'''ญาณที่ ๑๖. ปัจจเวกขณญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็น โดยสำรวจทบทวนย้อนหลัง เพื่อดูความเป็นมา และผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติรวม ๕ ประการของพระโสดาบัน สกทาคามี และอนาคามี คือมรรคจิต, ผลจิต, นิพพาน, กิเลสที่ละได้แล้ว และกิเลสที่ยังหลงเหลืออยู่ แต่สำหรับพระอรหันต์จะทำการทบทวนเพียง ๔ ประการแรก ยกเว้นกิเลสที่ยังเหลืออยู่ เพราะท่านหมดกิเลสแล้ว ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๑๓ - วิมุตติญาณ และญาณที่ ๑๔ - ปัจจเวกขณญาณ ของญาณ ๗๓)
'''ญาณที่ ๑๖. ปัจจเวกขณญาณ'''
'''ญาณที่ ๑๖. ปัจจเวกขณญาณ''' ปัญญาของจิตที่กำหนดจนรู้เห็น โดยสำรวจทบทวนย้อนหลัง เพื่อดูความเป็นมา และผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติรวม ๕ ประการของพระโสดาบัน สกทาคามี และอนาคามี คือมรรคจิต, ผลจิต, นิพพาน, กิเลสที่ละได้แล้ว และกิเลสที่ยังหลงเหลืออยู่ แต่สำหรับพระอรหันต์จะทำการทบทวนเพียง ๔ ประการแรก ยกเว้นกิเลสที่ยังเหลืออยู่ เพราะท่านหมดกิเลสแล้ว ญาณนี้ปรากฏในพระไตรปิฎก คัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๑๓ - วิมุตติญาณ และญาณที่ ๑๔ - ปัจจเวกขณญาณ ของญาณ ๗๓)
หลังจากเสวยผลญาณจนกระทั่งอ่อนกำลังลง จิตจะเริ่มแสดงอารมณ์ของปัจจเวกขณญาณที่ ๑๖ โดยเฉพาะในขณะ กำลังเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานอยู่ ไม่ว่าอิริยาบถย่อย เดินจงกรม หรือนั่งสมาธิ เพื่อแสดงให้เห็นว่ายังมีกิเลสหลงเหลืออยู่อีก สำหรับรอการประหารในรอบต่อไปในอนาคต ซึ่งอาจจะเป็นโมหะ โลภะ หรือโทสะ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้ง ๓ ก็ได้
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ญาณ"