ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลเมืองแม่เหียะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
 
== ประวัติ ==
เทศบาลเมืองแม่เหียะ เดิมเป็น ''สภาตำบล'' ตาม<ref>ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับ 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515</ref> ซึ่งมีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของส่วนราชการภูมิภาค ต่อมาในปี พ.ศ. 2538 สภาตำบลแม่เหียะได้รับสถานะเป็นนิติบุคคลและเป็นส่วนราชการท้องถิ่น <ref>ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 2 มีนาคม 2538 ทั้งนี้เป็นไปตามมาตรา 95 วรรค 2 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนภูมิภาคตำบล พ.ศ. 2537 </ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น ''องค์การบริการส่วนตำบล'' จนถึง พ.ศ. 2550 จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น ''เทศบาลตำบล''
 
ต่อมากระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศจัดตั้งสภาตำบลแม่เหียะตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 2 มีนาคม 2538 เป็นผลให้องค์การบริหาร
ปี [[พ.ศ. 2554]] จากการที่เทศบาลตำบลแม่เหียะ เป็นตำบลที่มีการพัฒนาและมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว สภาเทศบาลตำบลแม่เหียะจึงได้มีมติให้ส่งเรื่องยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองไปยังรัฐสภา ในวันที่ [[6 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2554]] เทศบาลตำบลแม่เหียะจึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น ''เทศบาลเมืองแม่เหียะ ''
ส่วนตำบลแม่เหียะมีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการ ส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้เป็นไปตามมาตรา 95 วรรค 2 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วน
ตำบล [[พ.ศ. 2537]] องค์การบริหารส่วนตำบลแม่เหียะถือเป็นหนึ่งในองค์การบริหาร ส่วนตำบล 617 แห่ง ที่[[กระทรวงมหาดไทย]]ได้ประกาศครั้งแรก<ref name="ThaiTambon">[http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=500109 ประวัติ ภูมิประเทศ อาณาเขตและสถานที่สำคัญของตำบลแม่เหียะ].จากเว็บไซต์ ไทย[[ตำบล]] ดอตคอม.</ref>
ปี [[พ.ศ. 2554]] จากการที่เทศบาลตำบลแม่เหียะ เป็นตำบลที่มีการพัฒนาและมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว สภาเทศบาลตำบลแม่เหียะจึงได้มีมติให้ส่งเรื่องยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองไปยังรัฐสภา ในวันที่ [[6 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2554]] เทศบาลตำบลแม่เหียะจึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองแม่เหียะ
 
== สังคม ==
ตำบลแม่เหียะเป็นตำบลแถบชานของ[[เวียงเชียงใหม่]] ในอดีตประชาชนดั้งเดิมในพื้นที่มีส่วนใหญ่มีฐานะยากจนทำเกษตรกรรมและหาของป่าเป็นหลัก ด้วยการเกิดขึ้นของทางหลวงสองสายที่เชื่อมกับตัวเมือง คือทางหลวงเชียงใหม่-ฮอด และ ถนนเลียบคลองชลประทาน ทำให้ความเจริญเริ่มเข้ามา ประชาชนในพื้นที่สามารถเดินทางไป-กลับจากตัวเมืองได้สะดวกมากขึ้น เริ่มมีโครงการบ้านจัดสรรเข้ามาในพื้นที่ จากการที่ตำบลด้านหลังติดภูเขา มีคลองชลประทานและลำห้วยแม่เหียะไหลผ่าน ทำให้มีสภาพแวดล้อมและธรรมชาติที่สวยงาม นี่เองทำให้ตั้งแต่ พ.ศ. 2527 เริ่มมีชาวต่างชาติจากแถบยุโรปเข้ามาอาศัยในตำบลแม่เหียะ และมากขึ้นเรื่อยๆ
 
ความเจริญของแม่เหียะก้าวกระโดดขึ้นอย่างมากโดยรัฐบาล[[พรรคไทยรักไทย]] จากการเกิดขึ้นของสามโครงการใหญ่ อย่าง [[ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี]], [[อุทยานหลวงราชพฤกษ์]] และ [[เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี]] สามโครงการนี้ทำให้แม่เหียะกลายเป็นตำบลแหล่งท่องเที่ยวของเชียงใหม่ มีการเข้ามาของห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ โครงการบ้านจัดสรรตลอดจน ร้านอาหารมากมาย สิ่งเหล่านี้ผลักดันให้แม่เหียะเป็นหนึ่งในตำบลที่เติบโตเร็วที่สุดของประเทศไทย ใช้เวลาเพียง 11 ปีก็สามารถยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตำบล ขึ้นเป็นเทศบาลเมือง ในขณะที่จำนวนชาวต่างชาติที่พำนักในแม่เหียะก็มากขึ้นเรื่อยๆ โดยปัจจุบันคาดว่ามีมากกว่า 1,000 คน เส้นทางไนท์ซาฟารี–ดอยคำ–เลียบคลองชลประทาน กลายเป็นเส้นทางปั่นจักรยาน กลายเป็นเส้นทางปั่นจักรยานที่คนนิยมมากที่สุดของเชียงใหม่
 
แม้ความเจริญที่เข้ามาจะรวดเร็วมาก แต่สังคมดั้งเดิมของแม่เหียะก็ปรับตัวเข้ากับความเปลี่ยนแปลงที่เข้ามาได้เป็นอย่างดีเยี่ยม การเข้ามาของห้างสรรพสินค้าไม่ได้ส่งผลกระทบต่อตลาดท้องถิ่นแบบที่หลายคนเคยกังวล แต่กลับให้ผลตรงข้าม คนพื้นถิ่น-คนต่างถิ่น-คนต่างชาติ สามารถเข้ากันได้เป็นอย่างดี และเริ่มมีวีถีชีวิตที่คล้ายกัน เป็นธรรมดาที่จะพบชาวยุโรปเดินตามตลาดนัด หรือตามร้านอาหารรถเข็นริมทาง
 
== ตราสัญลักษณ์ ==