ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นัยน์ตาปีศาจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:ปุราณวิทยา ไปยัง หมวดหมู่:ปรัมปราวิทยา
Deeyenda (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 103:
=== ทิเบตและภูมิภาคหิมาลัย ===
[[ไฟล์:Dzi bead.jpg|220px|thumb|[[Dzi bead|ลูกปัดซี]]ของทิเบต]]
ในทิเบตและบริเวณใกล้เคียง[[Dzi bead|ลูกปัดซี]] (Dzi bead) ถือกันว่าเป็นเครื่องรางในการขจัดภัยจาก “นัยน์ตาปีศาจ” และเป็นเครื่องรางที่นำโชค ขึ้นอยู่กับลวดลายและจำนวนตา [[Dzi bead|ลูกปัดซี]]โบราณเป็นลูกปัดที่มีราคาสูงที่สุดเท่าที่ทราบกันมา หินซีเริ่มปรากฏขึ้นราว 2000 ถึง 1000 ปีก่อนคริสต์ศักราชใน[[ทิเบต]]โบราณ กล่าวกันว่าลูกปัดหลาหลายแสนลูกถูกนำกลับมาโดยนักรบทิเบตจากภูมิภาค[[Bactria|บัคเทรีย]]เหนือ[[เทือกเขาฮินดูกูช]]หรือ[[ทาจิกิสถาน]]โบราณระหว่างที่ไปทำการปล้นรบ หรือ ต่อมายึดครอง ความกลัวอำนาจของ “นัยน์ตาปีศาจ” เป็นเรื่องที่จริงจังในหมู่ชนทิเบต ซึ่งทำให้เกิดการสร้างเครื่องรางในการป้องกันภัยอันเกิดจากอำนาจของ “นัยน์ตาปีศาจ” ขึ้นที่เป็นรูปตาเช่นกัน [[Dzi bead|ลูกปัดซี]]สร้างด้วย[[โมรา]]ตกแต่งด้วยเส้นและวงโดยใช้วิธีโบราณอันเป็นเอกลักษณ์ เช่นทำสีให้เข้มขึ้นโดยการใช้น้ำตาลพืช และ ทำให้ร้อนและลอกให้สีอ่อนลง และเส้นตัดสีขาวทำด้วย[[โซดาไฟ|นาทรอนโบราณ]] หรือด่างชนิดอื่น บางส่วนก็ทิ้งเอาไว้โดยไม่ก็ใช้ไขมัน, ดินเหนียว, ขี้ผึ้ง หรือ สารประเภทดังกล่าว วิธีการทำในสมัยโบราณได้แต่เพียงสันนิษฐานกันเท่านั้น
 
[[Dzi bead|ลูกปัดซี]]มีด้วยกันสองหรือสามชนิด ชนิดหนึ่งมีเส้นของและ “ตา” และที่มีตาตามธรรมชาติของหิน ลูกปัดซีมักจะมีทรงกลมรีแต่ก็มีบ้างที่เป็นรูปเหรียญ