ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กราฟสองมิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
ในอีกทางหนึ่ง แต่ละจุดของกราฟอาจอธิบายถึงค่าของ[[จำนวนเชิงซ้อน]]ค่าเดียว ในกรณีนี้แกนแนวนอนเรียกว่า ''แกนจริง'' ซึ่งอธิบายถึงค่าที่อาจเกิดขึ้นว่าเป็นส่วนจริงของจำนวนเชิงซ้อน และแกนแนวยืนเรียกว่า ''แกนจินตภาพ'' ซึ่งอธิบายถึงค่าที่อาจเกิดขึ้นว่าเป็นส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อน
 
== กราฟของฟังก์ชัน ==
[[ไฟล์:cubicpoly.svg||right|thumb(1) กราฟของฟังก์ชัน <math>f(x)={{x^3}-9x} \!\ </math>]]
{{บทความหลัก|กราฟของฟังก์ชัน}}
ถ้าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวอยู่ในรูปแบบ {{nowrap|1=''y'' = ''f''(''x'')}} เมื่อ ''f'' คือ[[ฟังก์ชัน]]ซึ่งให้ค่า ''y'' ค่าเดียวที่สอดคล้องกับค่า ''x'' ที่รับได้แต่ละค่าแล้ว กราฟของมันจะเรียกว่าเป็นกราฟของฟังก์ชัน ฟังก์ชันอาจเป็น[[ฟังก์ชันพหุนาม]]หรือ[[ฟังก์ชันอดิศัย]]ก็ได้
 
ตัวอย่าง กราฟของฟังก์ชันพหุนามกำลังสาม
:: <math>f(x)={{x^3}-9x} \!\ </math>
คือ
:: { (''x'', ''x''<sup>3</sup>−9''x'') : ''x'' เป็นจำนวนจริง }
ถ้านำเซตนี้ไปลงจุดบน[[ระนาบคาร์ทีเซียน]] จะได้ผลลัพธ์เป็นเส้นโค้งดังภาพ (1)